ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การให้เหตุผลแบบอุปนัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
วิธีการ
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 110:
=== การอุปนัยแบบแจงนับ ===
 
การอุปนัยแบบแจงนับ ({{lang-en|Enumerative induction}}) เป็นวิธีการอุปนัยที่ข้อสรุปถูกสร้างขึ้นมาบน''จำนวน''ของกรณีที่สนับสนุน ยิ่งมีกรณีสนับสนุนมากเท่าใดข้อสรุปก็ยิ่งเข้มแข็งมากขึ้น<ref name="dan" /><ref name="jm" />
รูปแบบพื้นฐานของการอุปนัยให้เหตุผลจากกรณีที่เจาะจงไปทุก ๆ กรณี และดังนั้นเป็นการวางนัยทั่วไปไม่จำกัด<ref>{{cite book|title=Logic: An Introduction|last=Churchill|first=Robert Paul|publisher=St. Martin's Press|year=1990|isbn=978-0-312-02353-9|edition=2nd|location=New York|page=355|oclc=21216829|quote=In a typical enumerative induction, the premises list the individuals observed to have a common property, and the conclusion claims that all individuals of the same population have that property.}}</ref> สมมุติว่าถ้าเราสังเกตหงส์ 100 ตัว และทั้งหมดเป็นสีขาว เราอาจอนุมาน[[ประพจน์แบบจัดกลุ่ม]] (Categorical proposition) สากลได้ในรูป "หงส์ทุกตัวเป็นสีขาว" เนื่องจาก[[รูปตรรกะ|รูปการให้เหตุผล]] (Logical form) นี้ไม่ได้นำมาซึ่งความเท็จจริงของข้อสรุปถึงแม้มันอาจจะเป็นจริงก็ตาม นี่เป็นรูปแบบหนึ่งของการอนุมานอุปนัย ข้อสรุปอาจเป็นจริง และอาจจะจริง หรือเท็จก็ยังได้ คำถามที่พูดถึงการให้เหตุผลและรูปแบบของการอุปนัยแบบแจงนับเป็นปัญหาหลัก ๆ ใน[[ปรัชญาวิทยาศาสตร์]] (Philosophy of science) เพราะการอุปนัยแบบแจงนับมีหน้าที่สำคัญในแบบดั้งเดิมของ[[ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์|กระบวนการวิทยาศาสตร์]]
 
รูปแบบพื้นฐานของการอุปนัยแบบแจงนับที่พื้นฐานที่สุดให้เหตุผลจากกรณีที่เจาะจงไปหากรณีทุกกรณี และดังนั้นจึงเป็นการวางนัยทั่วไปไม่จำกัด (unrestricted)<ref>{{cite book|title=Logic: An Introduction|last=Churchill|first=Robert Paul|title=Logic: An Introduction|publisher=St. Martin's Press|year=1990|isbn=978-0-312-02353-9|edition=2nd|location=New York|page=355|oclc=21216829|quote=In a typical enumerative induction, the premises list the individuals observed to have a common property, and the conclusion claims that all individuals of the same population have that property.}}</ref> สมมุติว่าถ้าเราสังเกตหงส์ 100 ตัว และทั้งหมดเป็นสีขาว เราอาจอนุมาน[[ประพจน์แบบจัดกลุ่ม]] (Categorical proposition) สากลได้ในรูป "หงส์ทุกตัวเป็นสีขาว" เนื่องจากข้อตั้งของ[[รูปตรรกะ|รูปการให้เหตุผล]] (Logical form) นี้ไม่ได้นำมาซึ่งความเท็จจริงของข้อสรุปถึงแม้มันอาจจะเป็นจริงก็ตาม นี่จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการอนุมานอุปนัย ข้อสรุปอาจเป็นจริง และอาจจะจริง หรือเท็จก็ยังได้ คำถามที่พูดถึงเกี่ยวกับการให้เหตุผลสนับสนุนและรูปแบบของการอุปนัยแบบแจงนับเป็นปัญหาเรื่องหลักใน[[ปรัชญาวิทยาศาสตร์]] (Philosophy of science) เพราะการอุปนัยแบบแจงนับมีหน้าที่สำคัญในตัวแบบดั้งเดิมของ[[ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์|กระบวนการวิทยาศาสตร์]]
 
:สิ่งมีชีวิตทุกตัวเท่าที่ถูกค้นพบมาประกอบไปด้วยเซลล์
:สิ่งมีชีวิตทุกตัวประกอบไปด้วยเซลล์
 
นี่คือ''การอุปนัยแบบแจงนับ'' หรือเรียกอีกอย่างคือ ''การอุปนัยแบบง่าย'' หรือ ''การอุปนัยทำนายเชิงคาดการณ์แบบง่าย'' ซึ่งเป็นหมวดหมู่ย่อยของการวางนัยทั่วไปอุปนัย ในการใช้งานประจำวัน นี่เป็นรูปแบบการอุปนัยที่พบได้บ่อยที่สุด ในสำหรับการให้เหตุผลก่อนหน้านี้ ข้อสรุปดูน่าเชื่อถือแต่มันทำนายได้คาดการณ์ไปไกลเกินหลักฐานที่มีอยู่ไปเยอะ อย่างแรกคือมันสมมุติว่าสิ่งมีชีวิตทุกตัวที่พบเจอมาจนถึงตอนนี้สามารถบอกได้ว่าในว่าที่จะเจออนาคตจะเป็นอย่างไร: ซึ่งเป็นการจำนนต่อภาวะเอกรูป อย่างที่สองคือคำว่า''ทุก''ในข้อสรุปเป็นการกล่าวที่'''ห้าว'''มาก การข้อขัดแย้งเพียงกรณีเดียวสามารถทำให้การให้เหตุผลแบบนี้พังทลายลงทันที และสุดท้ายคือการคำนวณหาระดับความเป็นไปได้ในรูปแบบตณิตศาสตร์คณิตศาสตร์นั้นทำไปได้อย่างมีปัญหา<ref>Schaum’s Outlines, Logic, pp. 243–35</ref>
 
เราใช้มาตรฐานอะไรมาเอาตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่เรารู้จักบนโลกไปเปรียบเทียบกับสิ่งมีชีวิตทุก ๆ ตัว? สมมุติว่าเราค้นพบสิ่งมีชีวิตใหม่ ให้เป็นจุลินทรีย์ที่ลอยอยู่ในชั้น[[มีโซสเฟียร์]]หรือบนดาวเคราะห์น้อยสักดวง แล้วมันประกอบไปด้วยเซลล์ การค้นพบครั้งนี้ทำให้ความเป็นไปได้ของประพจน์เพิ่มขึ้นหรือไม่ ปกติแล้วคำตอบที่มีเหตุผลคือ "ใช่" และสำหรับหลาย ๆ คนคำตอบนี้อาจแย้งไม่ได้ด้วย ถ้าอย่างนั้นแล้วคำถามควรจะเป็นว่าข้อมูลใหม่นี้ควรจะเปลี่ยนความเป็นไปได้ไปมากน้อย''เท่าไหร่'' ที่ตรงนี้มติร่วมกันในเรื่องนี้นั้นไม่มี และถูกแทนที่ด้วยปัญหาว่าเรายังสามารถพูดถึงความเป็นไปได้ได้อย่างสอดคล้องอยู่รึเปล่าโดยหากไม่ใช้ปริมาณที่เป็นตัวเลขเลย
นี่คือ''การอุปนัยแบบแจงนับ'' หรือ''การอุปนัยแบบง่าย'' หรือ''การอุปนัยทำนายแบบง่าย'' เป็นหมวดหมู่ย่อยของการวางนัยทั่วไปอุปนัย ในการใช้งานประจำวัน นี่เป็นรูปแบบการอุปนัยที่พบได้บ่อยที่สุด ในการให้เหตุผลก่อนหน้านี้ ข้อสรุปดูน่าเชื่อถือแต่มันทำนายได้เกินหลักฐานที่มีอยู่ไปเยอะ อย่างแรกคือมันสมมุติว่าสิ่งมีชีวิตทุกตัวที่พบเจอมาจนถึงตอนนี้สามารถบอกได้ว่าในอนาคตจะเป็นอย่างไร: เป็นการจำนนต่อภาวะเอกรูป อย่างที่สองคือคำว่า''ทุก''ในข้อสรุปเป็นการกล่าวที่ห้าวมาก การขัดแย้งเพียงกรณีเดียวทำให้การให้เหตุผลแบบนี้พังทลายลงทันที และสุดท้ายคือการคำนวณหาระดับความเป็นไปได้ในรูปแบบตณิตศาสตร์นั้นทำไปได้อย่างมีปัญหา<ref>Schaum’s Outlines, Logic, pp. 243–35</ref>
 
เราใช้มาตรฐานอะไรมาเอาตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่เรารู้จักบนโลกไปเปรียบเทียบกับสิ่งมีชีวิตทุก ๆ ตัว? สมมุติว่าเราค้นพบสิ่งมีชีวิตใหม่ ให้เป็นจุลินทรีย์ที่ลอยอยู่ในชั้น[[มีโซสเฟียร์]]หรือบนดาวเคราะห์น้อยสักดวง แล้วมันประกอบไปด้วยเซลล์ การค้นพบครั้งนี้ทำให้ความเป็นไปได้ของประพจน์เพิ่มขึ้นหรือไม่ ปกติแล้วคำตอบที่มีเหตุผลคือ "ใช่" และสำหรับหลาย ๆ คนคำตอบนี้อาจแย้งไม่ได้ด้วย ถ้าอย่างนั้นแล้วคำถามควรจะเป็นว่าข้อมูลใหม่นี้ควรจะเปลี่ยนความเป็นไปได้ไปมากน้อย''เท่าไหร่'' ที่ตรงนี้มติร่วมกันนั้นไม่มี และถูกแทนที่ด้วยปัญหาว่าเรายังพูดถึงความเป็นไปได้ได้อย่างสอดคล้องอยู่รึเปล่าโดยไม่ใช้ปริมาณที่เป็นตัวเลขเลย
 
 
:สิ่งมีชีวิตทุกตัวเท่าที่ถูกค้นพบมาประกอบไปด้วยเซลล์
:สิ่งมีชีวิตตัว''ต่อไป''ที่ถูกค้นพบจะประกอบไปด้วยเซลล์
 
นี่เป็นการอุปนัยแบบแจงนับใน''รูปอย่างอ่อน'' มันหลดหลั่นซึ่งลดหลั่นคำว่า "ทุก" ไปกลายเป็นแค่กรณีเดียว และจากการเพราะกล่าวอ้างอย่างอ่อนกว่ามากทำให้ความเป็นไปได้ของข้อสรุปนั้นนี้สูงขึ้นอย่างมาก มิฉะนั้นมันก็จะมีจุดอ่อนอย่างเดียวกับในรูปอย่างเข้ม:คือ ประชากรตัวอย่างไม่เป็นแบบสุ่ม และวิธีการวัดปริมาณไม่มีความชัดเจนน้อยกว่า
 
นี่เป็นการอุปนัยแบบแจงนับใน''รูปอย่างอ่อน'' มันหลดหลั่นคำว่า "ทุก" ไปเป็นแค่กรณีเดียว และจากการกล่าวอ้างอย่างอ่อนกว่ามาก ๆ ทำให้ความเป็นไปได้ของข้อสรุปนั้นสูงขึ้นอย่างมาก มิฉะนั้นมันจะมีจุดอ่อนอย่างในรูปอย่างเข้ม: ประชากรตัวอย่างไม่เป็นแบบสุ่ม และวิธีการปริมาณชัดเจนน้อยกว่า
 
===การอุปนัยแบบขจัด===