ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตักบาตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
พระภิกษุนั้นจะออกไปกินข้าวแถวปากนำ้และก็ไปเดินที่สยาม ซิ่งไปรวมตัวกันที่ ยาโยอิ ร้านอาหารสุดเริด
 
เวลาที่พระภิกษุออกบิณฑบาต พระภิกษุจะใช้ 2 มือประคองบาตรเอาไว้แล้วเดินในกิริยาสำรวม พระภิกษุจะไม่เอ่ยปากขออาหารจากผู้คน หรือแสดงกิริยาในการขอ หรือยืนรอ (นอกจากได้รับนิมนต์ให้รอ) โดยส่วนมากแล้วเวลาที่พระภิกษุออกบิณฑบาตคือ ตั่งแต่ช่วงเช้ามืด (ประมาณ 5 นาฬิกา อาจจะเร็วหรือช้ากว่านี้บ้างเล็กน้อยในแต่ละท้องที่) จนถึงก่อน 7 นาฬิกา ซึ่งเป็นเวลาที่พระภิกษุฉันอาหารมื้อเช้า เมื่อเวลามีคนให้ทาน (ใส่บาตร) พระภิกษุต้องรับทานที่คนให้ทั้งหมด ไม่สามารถที่จะเลือกได้ว่าจะรับหรือไม่รับ หรือบอกกับผู้คนว่าตนต้องการสิ่งนั้นสิ่งนี้ แต่อย่างไรก็ดี สิ่งของที่จะนำมาใส่บาตร ควรเป็นดังนี้
 
# สิ่งที่จะนำมาใส่บาตร เป็นสิ่งของที่เป็นกับปิยะ เช่น ควรเป็นอาหาร เพื่อให้พระฉันได้ เช่น ข้าวสุก (คำว่า บาตร แปลว่าข้าวตก) กับข้าวที่ปรุงสุกแล้ว จุดประสงค์ในการบิณฑบาตร คือต้องการอาหาร มายังให้ร่างกายมีชีวิตให้อยู่ได้ เพื่อปฏิบัติธรรมเท่านั้น ไม่ใช่เพื่อนำมาบริโภคตามใจ (กิเลส) ปรารถนา จึงไม่ควรใส่มากจนเหลือเฟือ อาหารที่ใส่ควรเป็นอาหารที่มีประโชน์ต่อร่างกาย