ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนกล่อง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
 
==พระประวัติ==
พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร เป็นพระราชโอรสใน[[กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ]] ประสูติแต่จอมมารดาหม่อมหลวงนวม (ราชสกุลปาลกะวงศ์; ธิดาหม่อมราชวงศ์เนตร) เมื่อวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2415 ทรงเข้ารับราชการใน[[กระทรวงมหาดไทย]] ดำรงตำแหน่งข้าหลวงมหาดไทย [[มณฑลปราจิณบุรี|มณฑลปราจีนบุรี]] หลังจากนั้นได้ต่อมาทรงกราบบังคมทูลลาออกจากตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2446 หลังจากนั้นได้และทรงเข้ารับราชการใน[[กระทรวงคมนาคม]] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยปลัดทูลฉลอง [[กระทรวงคมนาคม]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 33 หน้า 2167<nowiki/>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2459/D/2166.PDF</ref> ได้รับพระราชทานยศเป็น "มหาอำมาตย์ตรี" นอกจากนี้ยังทรงพระองค์เป็นเจ้าของคณะหุ่นกระบอก เรียกกันในชื่อสามัญว่า "หุ่นพระองค์สุทัศน์" เป็นคณะหุ่นกระบอกสำคัญ ที่ก่อให้เกิดความนิยมมหรสพชนิดนี้<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=2&page=t32-2-infodetail09.html สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ ๓๒ / เรื่องที่ ๒ หุ่นกระบอกไทย / คณะหุ่นกระบอก]</ref> และยังทรงพระนิพนธ์บทหุ่นกระบอก เรื่องสิงห์สุริยวงษ์ เป็นคำกลอนไว้อีกด้วย
'''พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร''' เมื่อวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2415 เป็นพระราชโอรสใน[[กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ]] ที่ประสูติแต่จอมมารดาหม่อมหลวงนวม ธิดาหม่อมราชวงศ์เนตร ปาลกะวงศ์
 
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร พระองค์ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ ให้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง[[องคมนตรี]] เมื่อปี พ.ศ. 2460 ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] <ref>รายพระนามแลรายนามผู้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี พุทธศักราช 2460 ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 15 เมษายน 2460</ref>
พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร ทรงเข้ารับราชการในกระทรวงมหาดไทย ดำรงตำแหน่งข้าหลวงมหาดไทย[[มณฑลปราจิณบุรี|มณฑลปราจีนบุรี]] หลังจากนั้นได้กราบบังคมทูลลาออกจากตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2446 หลังจากนั้นได้เข้ารับราชการในกระทรวงคมนาคม ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยปลัดทูลฉลอง [[กระทรวงคมนาคม]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 33 หน้า 2167<nowiki/>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2459/D/2166.PDF</ref> ได้รับพระราชทานยศเป็น มหาอำมาตย์ตรี นอกจากนี้ยังทรงเป็นเจ้าของคณะหุ่นกระบอก เรียกกันในชื่อสามัญว่า "หุ่นพระองค์สุทัศน์" เป็นคณะหุ่นกระบอกสำคัญ ที่ก่อให้เกิดความนิยมมหรสพชนิดนี้<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=2&page=t32-2-infodetail09.html สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ ๓๒ / เรื่องที่ ๒ หุ่นกระบอกไทย / คณะหุ่นกระบอก]</ref> และยังทรงพระนิพนธ์บทหุ่นกระบอก เรื่องสิงห์สุริยวงษ์ เป็นคำกลอนไว้อีกด้วย
 
พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร ประชวรพระโรคไข้จับ สิ้นพระชนม์ที่วังในคลอง[[วัดราชสิทธาราม]] เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2461 สิริพระชันษา 46 ปี
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง[[องคมนตรี]] เมื่อปี พ.ศ. 2460<ref>รายพระนามแลรายนามผู้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี พุทธศักราช 2460 ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 15 เมษายน 2460</ref>
 
'''มหาอำมาตย์ตรี พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร''' ประชวรพระโรคไข้จับ สิ้นพระชนม์ที่วังในคลอง[[วัดราชสิทธาราม]] เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2461 พระชันษา 46 ปี ในการนี้[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์]] เสด็จเป็นองค์ประธานในการพระราชทานน้ำหลวงสรงพระศพ เจ้าพนักงานประโคมกลองชนะแตรสังข์จ่าปี่จ่ากลองตามพระเกียรติยศ เมื่อเสร็จการสรงพระศพแล้ว เจ้าพนักงานทรงเครื่องสุกำพระศพเสร็จเชิญลงลองใน แล้วเชิญขึ้นตั้งบนชั้นแว่นฟ้า 2 ชั้น ประกอบพระโกศพระองค์เจ้า ตั้งเครื่องสูง 3 ชั้น แวดล้อม 4 องค์ ในการนี้[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีประโคมแตรสังข์ กลองชนะ จ่าปีจ่ากลอง ประจำพระศพ กับพระสงฆ์สวดพระอภิธรรม รับพระราชทานฉันเช้า 4 รูป ฉันเพล 4 รูป มีกำหนด 15 วัน<ref>ข่าวสิ้นพระชนม์ วันที่ 27 ตุลาคม 2461 ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 35 หน้า 1793 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/D/1793.PDF</ref> และมีพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ[[วัดเทพศิรินทราวาส]] ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2463<ref>การพระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 พฤษภาคม 2463 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2463/D/540.PDF</ref>
 
==พระโอรสและธิดา==