ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การขริบหนังหุ้มปลาย"

ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขนาด ,  2 ปีที่แล้ว
แก้ไขคำ
(ย้อนการแก้ไขของ 124.122.132.69 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 2403:6200:88A6:C4C2:6D6:AAFF:FE99:78AB)
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
(แก้ไขคำ)
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
[[ไฟล์:Global Map of Male Circumcision Prevalence by Country.svg|thumb|400x400px|การขริบหนังหุ้มปลาย]]
[[ไฟล์:High and tight circumcision style.jpg|thumb|180px|หลังจากการขริบขลิบอวัยวะเพศชาย]]
'''การขริบขลิบหนังหุ้มปลาย''' ({{lang-en|Circumcision}}) หรือเรียกกันว่า '''[[สุนัต]]''' คือ การผ่าตัดเพื่อเอาหนังหุ้มปลายของ[[อวัยวะสืบพันธุ์ชาย]]ออกไป โดยมีจุดประสงค์เพื่อการรักษาความสะอาดที่ง่ายขึ้น หรือ การผ่าตัดเพื่อผู้ที่มีหนังหุ้มหนาเกินไปจนไม่สามารถเปิดออกเองได้ และเกิดความเจ็บปวดเวลาอวัยวะเพศแข็งตัว
 
การขริบขลิบหนังปลายอวัยวะเพศ เป็นสิ่งที่ทำมาเป็นพัน ๆ ปีแล้ว ในหลายกลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มชาว[[ยิว]]และ[[มุสลิม]] เมื่อประมาณหลายสิบปีก่อนหน้านี้ ในสหรัฐอเมริกาจะมีการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะในทารกแรกเกิดเป็นส่วนใหญ่ ในปัจจุบันมีการถกเถียงว่าการขริบสามารถลดการติดเชื้อ[[เอดส์]]และ[[มะเร็ง]]ได้จริงหรือไม่ และคุ้มค่าหรือไม่กับการสูญเสียความรู้สึกทางเพศ โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับวิธีป้องกันอื่น ๆ ที่มีอยู่ รวมถึงเรื่องการละเมิดสิทธิเด็ก
 
== เหตุผลทางการแพทย์ ==
ผู้ใช้นิรนาม