ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อายุรเวท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 4:
 
เอกสารและบันทึกเกี่ยวอายุรเวทจากยุคคลาสสิกที่สำคัญมักเริ่มต้นด้วยการบันทึกและการถ่ายทอดวิทยาการทางการแพทย์จากเทพเจ้า ไปยังฤษีหรือนักบวช และจากนั้นจึงมาถึงมนุษย์ที่เป็นแพทย์<ref name="zysk-myth">{{cite book|last1=Zysk|first1=Kenneth G.|editor1-last=Josephson|editor1-first=Folke|title=Categorisation and Interpretation|date=1999|publisher=Meijerbergs institut för svensk etymologisk forskning, Göteborgs universitet|isbn=978-91-630-7978-8|pages=125–145|chapter=Mythology and the Brāhmaṇization of Indian medicine: Transforming Heterodoxy into Orthodoxy}}<!--|accessdate=16 October 2015--></ref> ใน ''[[Sushruta Samhita|สุศรุตสังหีต]]'' นั้น [[Sushruta|สุศรุตะ]]บันทึกว่า[[พระธันวันตริ]] เทพเจ้าแห่งอายุรเวทของ[[ศาสนาฮินดู]]ได้อวตารลงมาเป็นกษัตริย์แห่งพาราณสีและได้ถ่ายทอดความรู้แพทยศาสตร์แก่กลุ่มแพทย์กลุ่มหนึ่ง ซึ่งหนึ่งในนั้นคือสุศรุตะ<ref>{{cite book|last1=Bhishagratna|first1=Kaviraj Kunjalal|title=An English Translation of the Sushruta Samhita Based on Original Sanskrit text|date=1907|publisher=K. K. Bhishagratna|location=Calcutta|page=1|url=https://archive.org/stream/b24758619_0001#page/n103/mode/2up|access-date=16 October 2015}}</ref><ref name="britannica">[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/160641/Dhanvantari Dhanvantari. (2010). In Encyclopædia Britannica. Retrieved 4 August 2010, from Encyclopædia Britannica Online]</ref> การรักษาแบบอายุรเวทมักมีพื้นฐานมาจากสารประกอบสมุนไพรที่ซับซ้อน, แร่ธาตุ และธาตุโลหะ (ซึ่งเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลมาจาก ''[[rasa shastra|รสศาสตร์]]'') Ancient ตำราอายุรเวทโบราณยังมีการสอนถึงวิธีปฏิบัติการศัลยกรรม เช่น [[rhinoplasty|การผ่าตัดเสริมจมูก]], [[lithotomy|การกำจัดนิ่วในไต]], การเย็บแผล และการกำจัดวัตถุแปลกปลอม<ref name="wuja-root3">{{cite book|last1=Wujastyk|first1=Dominik|title=The Roots of Ayurveda: Selections from Sanskrit Medical Writings|date=2003|publisher=Penguin Books|location=London etc.|isbn=978-0-140-44824-5|edition=3}}<!--|accessdate=16 October 2015--></ref><ref name="mukh-surg">{{cite book|last1=Mukhopadhyaya|first1=Girindranath|title=The Surgical Instruments of the Hindus, with a Comparative Study of the Surgical Instruments of the Greek, Roman, Arab, and the Modern European Surgeons|date=1913|publisher=Calcutta University|location=Calcutta|url=https://archive.org/details/cu31924012165522|access-date=16 October 2015}}</ref> อายุรเวทได้รับการพัฒนาและปรับให้เข้ากับความต้องการของตลาดตะวันตก โดยเฉพาะที่[[Baba Hari Dass|บาบาหริทาส]]ได้ปรับอายุรเวทเข้ากับโลกตะวันตกในทศวรรษ 1970s และโดย[[Maharishi Vedic Approach to Health|กลุ่มมหาฤษีอายุรเวท]] ในทศวรรษ 1980s
== แปดองค์ ==
งานเขียน[[ภาษาสันสกฤต]]บุคคบาสสิกที่เก่าแก่ที่สุดที่เกี่ยวกับอายุรเวทได้แบ่งการแพทย์ออกเป็นแปดองค์ประกอบ (''องค์'') (“อัษฏางค์”)<ref>{{Cite book|title = Suśrutasaṃhitā|publisher = Nirṇayasāgara Press|year = 1945|location = Bombay|pages = 2–3|chapter-url = https://archive.org/stream/sushrutasamhita/sushruta_samhita_critical#page/n229/mode/2up|editor-last = Ācārya|editor-first = Yādava Trivikramātmaja|chapter = Sūtrasthāna 1.7-9}}</ref><ref>{{Cite book|title = The Carakasaṃhitā of Caraka, with the commentary by Cakrapāṇidatta, edited by Yadavaśarman Trivikarama Ācārya|publisher = Nirṇayasāgara Press|year = 1941|location = Bombay|pages = 189|editor-last = Ācārya|editor-first = Yādava Trivikramātmaja|chapter = Sūtrasthāna 30.28|chapter-url = https://archive.org/stream/TheCarakasahitOrCharakasamhitaOfCarakaEditedByYadavaarman/Carakasamhita-Trikamji1941#page/n253/mode/2up}}</ref> การจัดรูปแบบให้วิชาแพทย์ประกอบด้วยแปดองค์ "การแพทย์ที่ซึ่งมีแปดองค์" (''จิกิตสายาม อัษฏางคายาง'' चिकित्सायामष्टाङ्गायाम्) พบครั้งแรกใน[[มหาภารตะ]]<ref>{{Cite book|title = The Blackwell Companion to Hinduism|last = Wujastyk|first = Dominik|publisher = Blackwell|year = 2003|isbn = 978-1405132510|location = Oxford|pages = 394|editor-last = Flood|editor-first = Gavin|chapter = Indian Medicine}}</ref> อัษฏางค์ (แปดองค์) นั้นประกอบด้วย:<ref>{{Cite book|title = Suśruta-Samhitā With English Translation of text…|last = Sharma|first = Priya Vrat|publisher = Chaukhambha Visvabharati|year = 1999|location = Varanasi|pages = 7–11|volume = 1}}{{Request quotation|date=November 2015}}</ref><ref name="GregoryFields"/><ref>{{Cite book|title = An English Translation of the Sushruta Samhita Based on Original Sanskrit Text|last = Bhishagratna|first = Kaviraj Kunja Lal|publisher = The Author|year = 1907|location = Calcutta|pages = 2–6|url = https://archive.org/stream/englishtranslati01susruoft#page/2/mode/2up|volume = 1}}</ref>
* ''กายจิกิตสา'' (Kāyachikitsā): แพทยศาสตร์ทั่วไป
* ''กุมาร-ภฤตยะ'' (Kaumāra-bhṛtya): กุมารเวชศาสตร์<ref>{{Cite book| title = The Ãyurveda Encyclopedia: Natural Secrets to Healing, Prevention & Longevity| last = Swami Sadashiva Tirtha| isbn = 0-9658042-2-4| year = 1998| url-access = registration| url = https://archive.org/details/ayurvedaencyclop00tirt}}</ref>
* ''ศัลยตันตระ'' (Śalyatantra): [[History of surgery#India|ศัลยศาสตร์]] และการผ่าวัตถุแปลกปลอมออก
* ''ศาลากยตันตระ'' (Śhālākyatantra): เวชศาสตร์โสต สอ นาสิก และฟาริงซ์
* ''ภูตวิทยา'' (Bhūtavidyā): การกำจัดวิญญาณร้ายที่สิงสู่ในร่าง
* ''[[Agada|อคันท]]ตันตระ''/ หรือ ''วิษาคาร-ไวโรธตันตระ'' (พิษวิทยา): สารพิษและการระบาด
* ''รสายันตันตระ'' (Rasāyantantra): [[Rejuvenation (aging)|การยืดอายุขัย]]
* ''วาชีกรณตันตระ'' (Vājīkaraṇatantra): การศึกษาเกี่ยวกับ[[aphrodisiacs|การกระตุ้นทางเพศ]]
 
==ดูเพิ่ม==
* [[การฝังเข็ม]]