ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อายุรเวท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{distinguish|อายุรศาสตร์}}
'''อายุรเวท''' เป็นระบบ[[การแพทย์ทางเลือก]]ที่มีที่มาทางประวัติศาสตร์ในอนุทวีปอินเดีย<ref name=HIML-intro>{{cite book|last1=Meulenbeld|first1=Gerrit Jan|title=A History of Indian Medical Literature|date=1999|publisher=Egbert Forsten|location=Groningen|isbn=978-9069801247|chapter=Introduction}}<!--|accessdate=16 October 2015--></ref> ทฤษฎีและวิถีปฏิบัติของอายุรเวททางการแพทย์นั้นถือว่าเป็น[[pseudoscience|วิทยาศาสตร์ปลอม]]<ref name=kaufman/><ref name=oxpsych/><ref name=Quack-2011/> [[Indian Medical Association|สมาคมแพทยศาสตร์อินเดีย]] (IMA) ได้กำหนดว่าการรักษาด้วยวิถี[[การแพทย์สมัยใหม่]]โดยผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์แบบอายุรเวทถือเป็น[[quackery|ลักษณะหมอเถื่อน]]<ref name="IMA">{{cite web|url=http://www.ima-india.org/ima/left-side-bar.php?pid=291 |work=Indian Medical Association |title=IMA Anti Quackery Wing |quote=The purpose of this compendium of court orders and various rules and regulations is to acquaint doctors regarding specific provisions and orders barring quackery by unqualified people, practitioners of Indian & Integrated Medicine to practice Modern Medicine. }}</ref>
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''อายุรเวท''' ({{lang-sa|आयुर्वेद}}; {{lang-en|Ayurveda}}) เป็น[[การแพทย์แผนโบราณ]]ของ[[อินเดีย]]ที่มีมานานกว่า 5,000 ปี เป็น[[การแพทย์ทางเลือก]]แขนงหนึ่ง ใน[[ภาษาสันสกฤต]] คำว่า อายุรเวท มาจากคำว่า "อายุส" หมายถึง อายุยืนยาว และ "เวท" หมายถึง องค์ความรู้ อายุรเวทมีหลายวิธีการดูแลรักษาบำบัด เช่น [[โยคะอาสนะ]] [[ปราณยาม]] [[ปัจกรรม]] [[โภชนาการ (อายุรเวท)|โภชนาการ]] เป็นต้น นอกจากจะเป็นศาสตร์ของการรักษา ยังป้องกันโรครวมทั้งเสริมสุขภาพให้ยืนยาวได้อีกด้วย
 
วิวัฒนาการของระบบการรักษาแบบอายุรเวท ยังคงมีอิทธิพลของการแพทย์ในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ในขณะที่วงการแพทย์ของประเทศแถบตะวันตก อายุรเวทถูกจัดเข้าจัดอยู่ในประเภท[[การแพทย์ทางเลือกเสริม]] (CAM)
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Ayurveda|อายุรเวท}}
* [http://www.maharishiayurvedasiam.com มหาฤาษีอายุรเวทสยาม]
 
เอกสารและบันทึกเกี่ยวอายุรเวทจากยุคคลาสสิกที่สำคัญมักเริ่มต้นด้วยการบันทึกและการถ่ายทอดวิทยาการทางการแพทย์จากเทพเจ้า ไปยังฤษีหรือนักบวช และจากนั้นจึงมาถึงมนุษย์ที่เป็นแพทย์<ref name="zysk-myth">{{cite book|last1=Zysk|first1=Kenneth G.|editor1-last=Josephson|editor1-first=Folke|title=Categorisation and Interpretation|date=1999|publisher=Meijerbergs institut för svensk etymologisk forskning, Göteborgs universitet|isbn=978-91-630-7978-8|pages=125–145|chapter=Mythology and the Brāhmaṇization of Indian medicine: Transforming Heterodoxy into Orthodoxy}}<!--|accessdate=16 October 2015--></ref> ใน ''[[Sushruta Samhita|สุศรุตสังหีต]]'' นั้น [[Sushruta|สุศรุตะ]]บันทึกว่า[[พระธันวันตริ]] เทพเจ้าแห่งอายุรเวทของ[[ศาสนาฮินดู]]ได้อวตารลงมาเป็นกษัตริย์แห่งพาราณสีและได้ถ่ายทอดความรู้แพทยศาสตร์แก่กลุ่มแพทย์กลุ่มหนึ่ง ซึ่งหนึ่งในนั้นคือสุศรุตะ<ref>{{cite book|last1=Bhishagratna|first1=Kaviraj Kunjalal|title=An English Translation of the Sushruta Samhita Based on Original Sanskrit text|date=1907|publisher=K. K. Bhishagratna|location=Calcutta|page=1|url=https://archive.org/stream/b24758619_0001#page/n103/mode/2up|access-date=16 October 2015}}</ref><ref name="britannica">[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/160641/Dhanvantari Dhanvantari. (2010). In Encyclopædia Britannica. Retrieved 4 August 2010, from Encyclopædia Britannica Online]</ref> การรักษาแบบอายุรเวทมักมีพื้นฐานมาจากสารประกอบสมุนไพรที่ซับซ้อน, แร่ธาตุ และธาตุโลหะ (ซึ่งเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลมาจาก ''[[rasa shastra|รสศาสตร์]]'') Ancient ตำราอายุรเวทโบราณยังมีการสอนถึงวิธีปฏิบัติการศัลยกรรม เช่น [[rhinoplasty|การผ่าตัดเสริมจมูก]], [[lithotomy|การกำจัดนิ่วในไต]], การเย็บแผล และการกำจัดวัตถุแปลกปลอม<ref name="wuja-root3">{{cite book|last1=Wujastyk|first1=Dominik|title=The Roots of Ayurveda: Selections from Sanskrit Medical Writings|date=2003|publisher=Penguin Books|location=London etc.|isbn=978-0-140-44824-5|edition=3}}<!--|accessdate=16 October 2015--></ref><ref name="mukh-surg">{{cite book|last1=Mukhopadhyaya|first1=Girindranath|title=The Surgical Instruments of the Hindus, with a Comparative Study of the Surgical Instruments of the Greek, Roman, Arab, and the Modern European Surgeons|date=1913|publisher=Calcutta University|location=Calcutta|url=https://archive.org/details/cu31924012165522|access-date=16 October 2015}}</ref> อายุรเวทได้รับการพัฒนาและปรับให้เข้ากับความต้องการของตลาดตะวันตก โดยเฉพาะที่[[Baba Hari Dass|บาบาหริทาส]]ได้ปรับอายุรเวทเข้ากับโลกตะวันตกในทศวรรษ 1970s และโดย[[Maharishi Vedic Approach to Health|กลุ่มมหาฤษีอายุรเวท]] ในทศวรรษ 1980s
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
{{Hindudharma}}