ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Theo.phonchana (คุย | ส่วนร่วม)
Theo.phonchana (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 135:
**# '''ปัญจมี''' (ปญฺจมี) (Present - Imperative) ใช้ในประโยคคำสั่ง หรือขอให้ทำ
**# '''สัตตมี''' (สตฺตมี) (Present - Optative) ใช้บอกว่าควรจะทำ พึงกระทำ
**# '''ปโรกขา''' (ปโรกฺขา) (Indefinite Past) กริยาอดีตที่ล่วงแล้ว เกินจะรู้ (กาลนี้ไม่ค่อยมีใช้แล้ว) มีใช้เฉพาะ ''อาห'' (พฺรู ธาตุ (พูด) + -อ ปัจจัย + -อ ปโรกขาวิภัตติ) และ ''อาหุ'' (พฺรู ธาตุ (พูด) + -อ ปัจจัย + -อุ ปโรกขาวิภัตติ)
**# '''หิยัตตนี''' (หิยตฺตนี) (Definiteจาก Past''หิยฺโย'' วิเสสนนิบาต (เมื่อวาน) + -อตฺตน ปัจจัย) กริยาอดีต
**# '''อัชชัตตนี''' (อชฺชตฺตนี) (RecentlyDefinite Past) กริยาอดีตที่ผ่านไปเมื่อเร็ว ๆ นี้ หรือในวันนี้วาน
**# '''อัชชัตตนี''' (อชฺชตฺตนี) (จาก ''อชฺช'' วิเสสนนิบาต (อิม + -ชฺช ปัจจัย (แทนสัตตมีวิภัตติ)) (ในวันนี้) (= อิเม) + -อตฺตน ปัจจัย) (Recently Past) กริยาที่ผ่านไปเมื่อเร็ว ๆ นี้ หรือในวันนี้
**# '''ภวิสสันติ''' (ภวิสฺสนฺติ) (Future) กริยาที่จะกระทำ
**# '''ภวิสสันติ''' (ภวิสฺสนฺติ) (มาจาก ภู ธาตุ + -อิสฺสนฺติ วิภัตติ หรือ ภู ธาตุ + -อิ- อาคม + -สฺสนฺติ วิภัตติ) (Future) กริยาที่จะกระทำ
**# '''กาลาติปัตติ''' (กาลาติปตฺติ) (กาล + อติปตฺติ (อติ- อุปสรรค + ปตฺติ)) (Conditional) กริยาที่คิดว่าน่าจะทำแต่ก็ไม่ได้ทำ (หากแม้นว่า...)
** '''บท''' (ปท) (Voice) ดูว่ากริยานั้นเกิดกับใคร
**# '''ปรัสสบท''' (ปรสฺสปท) (Active) เป็นการกระทำอันส่งผลกับผู้อื่น เป็น[[กรรตุวาจก]] กับ เหตุกรรตุวาจก
**# '''อัตตโนบท''' (อตฺตโนปท) (Reflective) เป็นการกระทำอันส่งผลกับตัวเอง หรือมีสภาวะเป็นอย่างนั้นอยู่เอง เป็น[[กรรมวาจก]], [[ภาววาจก]] และ เหตุกรรมวาจก
** '''วจนะ''' (วจน) (Number) เหมือนคำนามคือแบ่งเป็นเอกวจนะและพหุวจนะ ซึ่งวจนะของกริยาก็ต้องขึ้นกับวจนะของนามผู้กระทำ
** '''บุรุษ''' (ปุริส) (Person) บอกบุรุษผู้กระทำกริยา บุรุษในภาษาบาลีนี้จะกลับกับภาษาอังกฤษคือ
เส้น 149 ⟶ 150:
**# '''บุรุษที่สาม''' อุตฺตรปุริส หมายถึงผู้ที่กำลังพูด (ฉัน)
 
ตัวอย่างเช่น กริยาธาตุ ''วัท'' (วทฺ ธาตุ) ที่แปลว่าพูด เป็นกริยาที่ Active ถ้าจะบอกว่า ฉันพูด ก็จะเป็น ''วะทามิ'' (วทามิ) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -มิ วัตตมานาวิภัตติ),
เราพูด เป็น ''วะทามะ'' (วทาม) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -ม วัตตมานาวิภัตติ), เธอพูด เป็น ''วะทะสิ'' (วทสิ), เขาพูด เป็น ''วะทะติ'' (วทติ),
ฉันพึงพูด เป็น ''วะเทยยามิ'' (วเทยฺยามิ), ฉันจักพูด เป็น ''วะทัสสามิ'' (วทสฺสามิ) ฯลฯ