ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดท้องคุ้ง (อำเภอพระประแดง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน | full_name = วัดท้องคุ้ง | common_name = | image_temple = | short_des...
 
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| abbot = พระครูสุนทรสุตสาร (หลวงพ่อพยุง กตปุญโญ)
| venerate =
| pre_road = เลขที่ 32 หมู่ที่ 2
| road_name = ถนนเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย 12
| road_name =
| sub_district = [[ตำบลบางหญ้าแพรก (อำเภอพระประแดง)|ตำบลบางหญ้าแพรก]]
| district = [[อำเภอพระประแดง]]
| province = [[จังหวัดสมุทรปราการ]]
| zip_code = 10130
| tel_no =
| pass_buses =
บรรทัด 36:
}}
 
'''วัดท้องคุ้ง''' เป็น[[วัดราษฎร์]]สังกัดคณะสงฆ์ฝ่าย[[มหานิกาย]] ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 2 [[ตำบลบางหญ้าแพรก (อำเภอพระประแดง)|ตำบลบางหญ้าแพรก]] [[อำเภอพระประแดง]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] ทิศตะวันออกติดกับ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ทิศตะวันตกติดกับลำคลองท้องคุ้ง
 
วัดท้องคุ้งสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2356 ไม่ทราบนามผู้สร้าง<ref>{{cite web |title=วัดท้องคุ้ง |url=http://www.anurak-sp.in.th/wat_in_samutprakan/4_prapadang/wat_12/index.html |publisher=หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดสมุทรปราการ}}</ref> ตั้งอยู่เหนือคุ้งน้ำ ประชาชนจึงได้ถือนิมิตนี้ เรียกว่า "วัดท้องคุ้ง" และหมู่บ้านแถวนั้นก็เรียกว่าบ้านคลองท้องคุ้ง อุโบสถหลังใหม่ได้รับ[[วิสุงคามสีมา]] เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2499<ref>{{cite web |title=วัดท้องคุ้ง |url=http://www.m-culture.in.th/album/53403 |publisher=ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม}}</ref> ได้ผูก[[พัทธสีมา]]ในปี พ.ศ. 2508 ในด้านการศึกษาทางวัดได้เปิดสอนปริยัติธรรม เริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. 2476
 
อาคารเสนาสนะของวัด ได้แก่ พระ[[อุโบสถ]] [[กุฏิ]]สงฆ์ จำนวน 8 หลัง [[ศาลาการเปรียญ]]สร้างเมื่อ พ.ศ. 2503<ref>{{cite web |title=วัดท้องคุ้ง |url=http://www.poochaosamingprai.go.th/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%87.html |publisher=เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย}}</ref> หอไตรและมณฑป สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2356 ปูชนียวัตถุของวัดได้แก่ พระสังกัจจายน์ อายุมากกว่า 200 ปี พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูป[[ปางมารวิชัย]] พระพุทธรูปสมัยอยุธยาตอนปลาย [[พระพุทธชินราช]] [[พระสารีบุตร]]คู่ซ้ายขวา
 
ในสมัยหลวงปู่ฉ่ำเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้สร้าง[[พระเครื่อง]]ไว้แจกจ่ายแก่ศิษย์และชาวบ้าน ได้แก่ [[พระปิดตา]]หลังเบี้ย พิมพ์เข่าบุ๋มและเข่าตัน พระพิมพ์บัวฟันปลา พระปิดตาพิมพ์เล็ก พระผงกลีบบัว พระผงพิมพ์ลำพูนปรกโพธิ์ และพระปิดตาเนื้อชินตะกั่ว เป็นต้น