ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลื่อยวงเดือน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
ย้อนการแก้ไขของ 202.29.16.236 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Just Sayori
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Table saw cutting wood at an angle, by BarelyFitz.jpg|thumb|จักรวงเดือนที่กำลังตัดไม้]]
'''เลื่อยวงเดือน''' เป็น[[เครื่องจักรพื้นฐานสำหรับช่าง]]เครื่องเรือนอย่างหนึ่ง สามารถทำงานได้หลายอย่าง เช่น [[เลื่อยตัด]] [[เลื่อยซอย]] [[บังใบ]] ตัดเข้ามุม ตัดเรียวและทำเดือยแบบต่างๆ อีกมาก ซึ่งจะทำงานได้อย่างคล่องตัว นับเป็นเครื่องจักรที่มีประโยชน์อย่างมากสำหรับช่างเครื่องเรือนอย่างหนึ่ง
'''ลุงตู่''' เป็นควายซึ่งอย่าอ่าน
 
โดยทั่วไปปกติเลื่อยวงเดือนจะมีหลายรูปแบบหลายขนาดแล้วแต่รุ่นที่แต่ละบริษัทผู้ผลิตได้ผลิตออกมา ลักษณะของการทำงานโดยทั่วๆ ไปของเครื่องแต่ละแบบจะคล้ายกัน จะมีต่างกันบ้างที่เทคนิคการทำงานหรืออุปกรณ์ช่วยที่ออกแบบมาให้สะดวกในการทำงานมากขึ้น ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่จะต้องยึดติดตายกับพื้นของโรงงาน ขนาดของเลื่อยวงเดือนจะกำหนดตามขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของใบเลื่อย ซึ่งจะมีขนาดตั้งแต่ 8 นิ้ว - 16 นิ้ว โดยปกติเลื่อยวงเดือนจะสร้างเป็นสองแบบ คือ แบบที่เอียงแนวเครื่องกับแบบที่เอียงใบมีด ซึ่งจะขึ้นอยู่กับขนาดของเครื่องว่าใหญ่เพียงใด ถ้าเป็นเครื่องขนาดใหญ่แล้วมันจะใช้วิธีการปรับเอียงที่ใบเลื่อย ซึ่งจะทำได้ง่ายเบาแรง
บรรทัด 15:
ใบเลื่อยแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน และถูกออกแบบมาให้ใช้กับวัสดุที่แตกต่างกัน สิ่งที่เพื่อนๆควรรู้ก่อนที่จะเลือกใบเลื่อยที่เหมาะกับวัสดุที่เราจะตัดคือ ชื่อเรียกส่วนประกอบต่างๆ เพราะส่วนประกอบเหล่านี้เองที่เป็นตัวบ่งชี้ว่า ใบเลื่อยนั้นๆเหมาะจะใช้ตัดอะไร (ชื่อภาษาไทย เป็นชื่อที่ Meplus แปลเอาเองนะครับ)
 
1. จำนวนฟัน : ในขณะที่ใบเลื่อยตรงๆ (เช่นเลื่อยมือ หรือเลื่อยจิ๊กซอ) เราดูความละเอียดของใบเลื่อย เป็น “ฟันต่อนิ้ว” หรือ “teeth per inch” (ที่เราพูดในตอนที่สาม) แต่ในเลื่อยวงเดือนนั้นความยาวเส้นรอบวงของใบเลื่อยเป็นขนาดตายตัวอยู่แล้ว เราจึงบอกแค่จำนวนฟันก็พอ แต่อย่าลืมว่า ใบเลื่อยขนาดเล็ก ก็จะมีเส้นรอบวงเล็กไปด้วย นั่นแปลว่า ใบเลื่อย 10 นิ้ว 40 ฟัน จะหยาบกว่า ใบเลื่อย 7 นิ้ว ที่มีจำนวนฟันเท่ากัน และเช่นเดียวกับฟันเลื่อยมือ ที่ยิ่งฟันน้อยก็ย่ิงตัดได้เร็ว แต่จะได้ผิวงานไม่เรียบร้อย เท่ากับตัดด้วยฟันที่ถี่กว่า
ลุงตู่โง่
 
 
 
2. ลักษณะของฟัน : โดยทั่วไปนิยมใช้กันอยู่ สี่แบบ ได้แก่
เส้น 26 ⟶ 28:
 
 
3. มุมของฟัน (Hook, Rake) : เป็นมุมของฟันเลื่อยแต่ละซี่ที่ทำมุมกับเส้นผ่านศูนย์กลางของใบเลื่อย มุมนี้จะเป็นตัวกำหนดความรุนแรงในการกัดวัสดุของใบเลื่อย ยิ่งมุมมากก็ยิ่งกัดได้เร็ว แต่ก็มีโอกาสทำให้ชิ้นงานเสียหาย หรอหรือไม่เรียบร้อยได้มาก แต่ยิ่งองศาน้อยก็ยิ่งต้องออกแรงส่งชิ้นงานมาก ซึ่งดีต่อการใช้กับเลื่อยองศาหรือเลื่อยรัศมี เพราะมันช่วยป้องกันการถีบกลับของไม้ได้ดีกว่า