ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8344974 สร้างโดย 183.88.238.169 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''[[พระพุทธศาสนา]]'''เข้าสู่'''[[ประเทศญี่ปุ่น]]'''โดยผ่าน[[เกาหลี]] ในหนังสือประวัติศาสตร์[[ญี่ปุ่น]]ชื่อ [[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชคิ]] ({{ญี่ปุ่น|日本書紀(にほんしょき)|Nihon Shoki}})<ref>[https://kotobank.jp/word/%E6%97%A5%E6%9C%AC%E6%9B%B8%E7%B4%80-110190 日本書紀] [[kotobank]] (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref> ได้บันทึกไว้ว่า วันที่ [[12 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 1095]] (ใน[[ยุคโคะฟุง|ยุคอาซึกะ]]) เป็นปีที่ 13 ของรัชกาล[[จักรพรรดิคิมเม|จักรพรรดิคินเม]] [[จักรพรรดิญี่ปุ่น|จักรพรรดิ]]องค์ที่ 29 [[พระพุทธศาสนา]]ได้เข้าสู่[[ญี่ปุ่น]] โดย[[พระเจ้าซอง]][[ราชวงศ์แพ็กเจ|กษัตริย์อาณาจักรแพคเจ]]ส่งราชทูตมายังราชสำนัก[[จักรพรรดิคิมเม|จักรพรรดิคินเม]] พร้อมด้วย[[พระพุทธรูป]] ธง คัมภีร์พุทธธรรม และพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ที่จะขอให้[[จักรพรรดิคิมเม|จักรพรรดิคินเม]]รับนับถือ[[พระพุทธศาสนา]] จักรพรรดิคินเมทรงรับด้วยความพอพระทัย
 
แม้จักจะมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจาก[[อินเดีย]]ผ่าน[[จีน]]เข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของ[[พระพุทธศาสนา]]ใน[[ญี่ปุ่น]]อย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึก[[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชคิ]]พงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์
 
[[พระพุทธศาสนา]]เป็นส่วนหนึ่งของรากฐานในวิถีชีวิตของชาว[[ญี่ปุ่น]]มาร่วมสหัสวรรษ และในพันปีกว่านี้ชาวญี่ปุ่นยังได้เชื่อมโยงความเชื่อของพุทธศาสนาบางส่วนเข้าผสมผสานกับปรัชญาหลักคำสอนของศาสนา[[ชินโต]]พื้นบ้าน<ref>[http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/shinto00.htm ศาสนาชินโต] วิทยาลัยศาสนศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref> เช่น ความเชื่อในเรื่องของ[[พระโพธิสัตว์]]และ[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|ทวยเทพในศาสนาพุทธ]] ซึ่งได้ผนวกเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการเคารพนับถือในศาสนาชินโต ความเชื่อมโยงนี้ซึมซับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแกนรากทางวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นมาเนิ่นนานหลายศตวรรษ<ref>[https://livejapan.com/th/article-a0000759/ ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น] live japan เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref>