ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบริโภค (เศรษฐศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 122.155.46.21 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}} {{เก็บกวาด}}
การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคมีความหมายรวมทั้งการกิน และการใช้สินค้าหรือบริการ
[[ไฟล์:Mall_culture_jakarta89.jpg|thumb| ผู้คนซื้อ เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ที่ [[ศูนย์การค้า|ห้างสรรพสินค้า]] ใน [[จาการ์ตา|กรุงจาการ์ตา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] ]]
'''การบริโภค''' นิยามว่าเป็นการใช้จ่ายเพื่อการได้รับมาซึ่งอรรถประโยชน์ เป็นแนวคิดสำคัญทาง[[เศรษฐศาสตร์]] และได้มีการศึกษาใน[[สังคมศาสตร์]]อื่น ๆ อีกมากมาย สิ่งนี้มักจะมีมองในทางตรงกันข้ามกับ[[การลงทุน]] ซึ่งจ่ายเพื่อทำให้ได้รับรายได้ในอนาคต
 
สำนักวิชาของเศรษฐกรที่แตกต่างกันนิยามการบริโภคแตกต่างกัน นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก นิยามว่าเป็นเพียงการซื้อขั้นสุดท้ายของการผลิต[[เศรษฐทรัพย์|สินค้า]]และบริการที่ผลิตขึ้นใหม่โดยปัจเจกบุคคลเพื่อใช้ในการบริโภคได้ทันที ในขณะที่ประเภทอื่น ๆ ของค่าใช้จ่าย — โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การลงทุนในสินค้าคงที่, การบริโภคสินค้าระดับกลาง และการใช้จ่ายภาครัฐ - จะอยู่ในประเภทอื่น (ดู ทางเลือกของผู้บริโภค ) เศรษฐกรคนอื่น ๆ นิยามการบริโภคกว้างมากขึ้น เป็นผลรวมของกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การผลิตและ [[การตลาด]] ของ สินค้าและบริการ (เช่นการเลือก การรับมาใช้ การใช้ การกำจัด และการนำมาใช้ใหม่สินค้าและบริการ
 
เศรษฐกรให้ความสนใจเป็นพิเศษในความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและรายได้ ตามที่ได้สร้างแบบจำลองโดยใช้ฟังก์ชันการบริโภค
 
== ฟังก์ชัน ==