ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรณานุกรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wim b (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 171.5.232.229 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.4]
ถูกต้อง
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
บรรณานุกรม ( Bibliography )  หมายถึง รายการของทรัพยากรสารนิเทศที่ใช้ค้นคว้าประกอบการเขียนรายงาน และนํามาอ้างอิงไว้ท้ายเล่ม
ในทาง[[สารนิเทศ]] '''บรรณานุกรม''' หมายถึง ข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
 
คำว่า "บรรณานุกรม" เป็น[[ศัพท์บัญญัติ]]มาจาก[[ภาษาอังกฤษ]] bibliography ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกันคือ รายการ[[สื่อสารนิเทศ]]ทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบการเขียนหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย
บรรทัด 23:
สุกรี เจริญสุข. '''ในหลวงกับพระอัจฉริยภาพด้านการดนตรี.''' http://kanchanapisek.or.th/articles/music.th.html (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551)
*
 
==          '''ความสําคัญของบรรณานุกรม''' ==
== ดูเพิ่ม ==
  ในการศึกษาค้นคว้าและเขียนรายงานเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จำเป็นจะต้องรวบรวมบรรณานุกรมไว้ท้ายเล่มเสมอ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
* [[การอ้างอิง]]
* [[ห้องสมุด]]
* [[บรรณารักษศาสตร์และวิทยาการสารสนเทศ]]
 
         1.   เพื่อแสดงว่ารายงานฉบับนั้นเป็นรายงานที่มีเหตุผล  มีสาระน่าเชื่อถือได้
== อ้างอิง ==
ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรมเพิ่มเติม[http://blog.janthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1-3889.html]{{รายการอ้างอิง}}
 
         2.   เพื่อแสดงว่าผู้เขียนรายงานเคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้แต่งหนังสือที่ได้นํามาใช้ประกอบการเขียนนั้น
 
         3.   เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สนใจได้ศึกษารายละเอียด หรือข้อเท็จจริงที่นํามาประกอบการเขียนเพิ่มเติมได้อีก
 
         4.   เพื่อตรวจสอบหลักฐานดั้งเดิมที่ผู้เขียนนํามาประกอบในรายงาน{{รายการอ้างอิง}}
 
 
'''มีวิธีการและข้อควรปฏิบัติ ดังต่อไปนี้'''
 
1.   ทรัพยากรสารนิเทศที่นํามาจัดทําบรรณานุกรม  ต้องเป็นทรัพยากรสารนิเทศที่ใช้ค้นคว้าและที่นำมาอ้างอิงในรายงานเท่านั้น
 
2.   การเขียนบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์  สามารถหาข้อมูลได้จากหน้าปกใน (TitlePage) เนื่องจากมีข้อมูลที่จำเป็นสําหรับการเขียนบรรณานุกรม หากข้อมูลที่ต้องการมีไม่ครบ ให้ใช้ข้อมูลจากปกนอก หรือจากส่วนอื่นของสิ่งพิมพ์
 
3.   การเขียนบรรณานุกรม ให้เริ่มอักษรตัวแรกของบรรณานุกรมที่ระยะชิดขอบ หรือ***งจากขอบกระดาษด้านซ้าย 1.5  นิ้ว ถ้าข้อความบรรทัดแรกไม่จบ ให้ขึ้นบรรทัดที่ 2, 3 ใหม่ โดยเริ่มที่ระยะย่อหน้า
 
4.   กรณีที่ใช้ทรัพยากรสารนิเทศหลายชื่อเรื่อง ของผู้แต่งคนเดียวกัน การลงรายการครั้งแรกให้ลงตามหลักเกณฑ์  ส่วนการลงบรรณานุกรมลําดับต่อไปให้ขีดเส้นตรง 1 นิ้ว  แทนชื่อผู้แต่ง แล้วลงรายการ อื่น ๆ ให้สมบูรณ์
 
5.   หากทรัพยากรสารนิเทศใดไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ให้ใช้ชื่อเรื่อง หรือ ชื่อบทความ เป็นรายการแรกแทนชื่อผู้แต่ง
 
6.   หากรายการที่นํามาจัดทําบรรณานุกรมมีทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ  ให้เรียงภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ
 
7.   การเรียงลําดับทรัพยากรสารนิเทศในบรรณานุกรม  ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของรายการนั้น ๆ ตามแบบพจนานุกรม  โดยไม่ต้องใส่หมายเลขลําดับที่ของรายการ
[[หมวดหมู่:วิทยาการสารสนเทศ]]
[[หมวดหมู่:การออกแบบหนังสือ]]