ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mtarch11 (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 103.205.161.237 (talk) to last version by Mtarch11
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35:
วันที่ 21 มีนาคม 2435 ฝรั่งเศสได้ส่งเรือลูแตง (Lutin) เข้ามาจอดทอดสมออยู่หน้าสถานทูตฝรั่งเศส ในพระนคร เพื่อแสดงแสนยานุภาพ โดยมีผู้บัญชาการสถานีทหารเรือเมืองไซ่ง่อนเข้ามาเจรจาและร้องขอให้สยามยอมรับเขตแดนญวนว่าจรดถึงฝั่งซ้ายลำน้ำโขง แต่สยามคัดค้านคำร้องขอนี้ พร้อมทั้งได้ดำเนินการทางการทูตกับอังกฤษเรื่องตั้งอนุญาโตตุลาการตัดสินปัญหาความขัดแย้ง และเชิญสหรัฐอเมริกาเข้ามาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท แต่ฝรั่งเศสปฏิเสธไม่ยอมรับตามที่เสนอ สยามจึงเตรียมการป้องกันปากน้ำเจ้าพระยา
 
ไปหาเว็ปอื่น
== บริบท ==
ความขัดแย้งดังกล่าวเริ่มขึ้นเมื่อผู้ว่าราชการอินโดจีน [[ฌอง เดอ ลาแนสซัง]] ส่งโอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลมายังกรุงเทพฯ เพื่อนำอิตาลีมาอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส รัฐบาลในกรุงเทพฯ ซึ่งมีความเชื่ออย่างผิด ๆ ว่า[[รัฐบาลอังกฤษ]]จะสนับสนุน ปฏิเสธจะยกดินแดนฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำโขง]] กลับเสริมการแสดงตนทางทหารและการปกครองแทน
 
เหตุการณ์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจโดยสองเหตุการณ์ซึ่งผู้ว่าราชการสยามใน[[แขวงคำม่วน|คำม่วน]]และ[[หนองคาย]]ขับพ่อค้าวาณิชชาวฝรั่งเศสสามคนจาก[[แม่น้ำโขง]]ตอนกลางในเดือนกันยายน 2436 ซึ่งสองในนั้นต้องสงสัยว่าลักลอบค้าฝิ่น ไม่นานจากนั้น กงสุลฝรั่งเศสในหลวงพระบาง มัซซี ซึ่งกระสับกระส่ายและเสียขวัญ ฆ่าตัวตายระหว่างทางกลับ[[ไซ่ง่อน]] มาในฝรั่งเศส เหตุการณ์เหล่านี้ถูกการวิ่งเต้นอาณานิคมใช้เพื่อปลุกปั่นอารมณ์ชาตินิยมต่อต้านสยาม เป็นบริบทของการแทรกแซง
 
การเสียชีวิตของมัสซีทำให้โอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลฝรั่งเศสคนใหม่ ในเดือนมีนาคม 2436 ปาวีเรียกร้องให้สยามอพยพที่มั่นทางทหารทั้งหมดบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง ใต้คำม่วน โดยอ้างว่าดินแดนนั้นเป็นของเวียดนาม เพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องเหล่านี้ ฝรั่งเศสส่งเรือปืน ''"รูแตง"'' มายังกรุงเทพฯ ซึ่งผูกเรืออยู่ที่แม่น้ำเจ้าพระยาติดกับสถานอัครราชทูตลาว
 
== ลำดับเหตุการณ์สำคัญ ==