ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภัยพิบัติเชียร์โนบีล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pod phong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pod phong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 415:
| รัสเซีย || 49,800 || 0.29 || 5,700 || 0.03 || 2,100 || 0.01 || 300 || 0.002
|- style="background:#ffdcbb;"
| [[สวีเดน ]]|| 12,000 || 2.7 || — || — || — || — || — || —
|- style="background:#ffe5bb;"
| [[ฟินแลนด์ ]]|| 11,500 || 3.4 || — || — || — || — || — || —
|- style="background:#ffefbb;"
| ออสเตรีย || 8,600 || 10.3 || — || — || — || — || — || —
บรรทัด 641:
มันก็ไม่มีความชัดเจนว่าอีกนานเท่าไรที่รูปแบบเซรามิกจะสามารถชะลอการปลดปล่อยกัมมันตภาพรังสี จากปี 1997 ถึงปี 2002 สิ่งตีพิมพ์ที่ออกมาอย่างต่อเนื่องได้แนะนำว่าการฉายรังสีด้วยตัวเองของลาวาจะแปลงทั้งหมด 1,200 ตันให้เป็นฝุ่นขนาดหนึ่งในล้านเมตรและฟุ้งกระจายได้ภายในไม่กี่สัปดาห์<ref>{{cite journal | first = V. | last = Baryakhtar | first2 = V. | last2 = Gonchar | first3 = A. |last3 = Zhidkov | first4 = V. | last4 = Zhidkov | title = Radiation damages and self-sputtering of high-radioactive dielectrics: spontaneous emission of submicronic dust particles | journal = Condensed Matter Physics | year = 2002 | volume = 5 | number = 3{31} | pages = 449–471 |url=http://www.icmp.lviv.ua/journal/zbirnyk.31/005/art05.pdf | doi=10.5488/cmp.5.3.449}}</ref> แต่มีรายงานว่าการสลายตัวของลาวามีแนวโน้มที่จะเป็นกระบวนการที่ช้าและค่อยเป็นค่อยไปมากกว่าอย่างฉับพลันและรวดเร็ว<ref name="Borovoi2006">{{cite journal |doi=10.1007/s10512-006-0079-3 |title=Nuclear fuel in the shelter |year=2006 |last1=Borovoi |first1=A. A. |journal=Atomic Energy |volume=100 |issue=4 |pages=249}}</ref> เอกสารเดียวกันระบุว่าการสูญเสียของยูเรเนียมจากเครื่องปฏิกรณ์ที่อับปางเป็นเพียง 10 กิโลกรัม (22 ปอนด์) ต่อปี อัตราที่ต่ำของการฉุดรั้งยูเรเนียมแนะนำว่าลาวานี้มีลักษณะที่ต้านทานต่อสภาพแวดล้อม<ref name="Borovoi2006"/> เอกสารยังระบุอีกด้วยว่าเมื่อโรงเก็บได้รับการปรับปรุง อัตราการฉุดรั้งของลาวาจะลดลง<ref name="Borovoi2006"/>
 
บางส่วนของพื้นผิวของการไหลของลาวาได้เริ่มต้นที่จะแสดงให้เห็นถึงแร่ธาตุยูเรเนียมใหม่ ๆ เช่น NANa<sub>4</sub>(UO<sub>2</sub>)(CO<sub>3</sub>)<sub>3</sub> และ uranyl carbonate อย่างไรก็ตาม ระดับของกัมมันตภาพรังสีเป็นเช่นว่าในช่วง 100 ปี การฉายรังสีด้วยตนเองของลาวา (2×10<sup>16</sup> α สลายตัวต่อกรัมและ 2 ถึง 5×10<sup>5</sup> Gy ของ β หรือ γ) จะตกลงในระยะสั้นของระดับที่จำเป็นเพื่อเปลี่ยนคุณสมบัติของแก้ว (10<sup>18</sup> α สลายตัวต่อกรัม และ 10<sup>8</sup> ถึง 10<sup>9</sup> Gy ของ β หรือ γ) นอกจากนี้อัตราการละลายของลาวาในน้ำจะต่ำมาก (10<sup>−7</sup> กรัม·ซม<sup>−2</sup>·วัน<sup>−1</sup>) ที่แนะนำว่าลาวาไม่น่าที่จะละลายในน้ำ<ref name="Borovoi2006" />
 
=== เขตยกเว้น ===