ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประยุทธ์ จันทร์โอชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ice 4402 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33:
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2497|3|21}}
| birth_place = [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[ประเทศไทย]]
| death_date = {{วันตาย-อายุ|2563|12|12|2497|3|21}}
| death_date =
| death_place = [[เชียงราย]] [[ประเทศไทย]]
| death_place =
| death_cause = [[โคโรนาไวรัส 2019]] ในขณะเดินทางไปเชียงราย
| party = อิสระ{{efn|พรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรี แต่เขาไม่ได้มีชื่อเป็นสมาชิกพรรค}}
| alma_mater = [[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]]<br>[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]]
| father = พันเอก ประพัฒน์ จันทร์โอชา (เสียชีวิต)
| mother = เข็มเพชร จันทร์โอชา
| spouse = [[นราพร จันทร์โอชา]]
เส้น 50 ⟶ 51:
| image = Prayuth 2018 cropped.jpg
}}
พลเอก '''ประยุทธ์ จันทร์โอชา''' ({{ชื่อเล่น|ตู่}} เกิด 21 มีนาคม 2497 - 12 ธันวาคม 2563) เป็น[[นักการเมือง]]และ[[ทหารบก|นายทหารบก]][[ชาวไทย]] หัวหน้า[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) ซึ่งก่อ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]] และเป็น[[คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง|คณะรัฐประหาร]]ที่ปกครองประเทศไทยในปี 2557 ถึง 2562 เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 29 และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมคนปัจจุบัน]]
 
เขาเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหาร[[บูรพาพยัคฆ์]]และ[[กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์|ทหารเสือราชินี]] เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 หลังการแต่งตั้ง เขามีลักษณะ[[นิยมเจ้า]]อย่างเข้มข้น และปรปักษ์ของอดีตนายกรัฐมนตรี [[ทักษิณ ชินวัตร]] ถือได้ว่าเขาเป็นสายแข็ง (hardliner) ในกองทัพ เป็นผู้สนับสนุนแนวหน้าของการสลายการชุมนุมของคนเสื้อแดงใน[[ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552|เดือนเมษายน 2552]] และ[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553|เมษายน–พฤษภาคม 2553]]<ref>{{cite news|url=http://us.mobile.reuters.com/article/topNews/idUSTRE6AI14V20101119|title=Q+A: Are Thailand's "red shirts" regrouping?|accessdate=May 2, 2014|agency=[[Reuters]]|date=November 19, 2013|archivedate=May 2, 2014|archiveurl=//web.archive.org/web/20140502231619/http://us.mobile.reuters.com/article/topNews/idUSTRE6AI14V20101119|deadurl=no}}</ref> ต่อมาเขามุ่งวางตนเป็นกลาง โดยพูดคุยกับญาติผู้ประท้วงที่เสียชีวิตในเหตุการณ์<ref>{{cite news|title=Gen Prayuth takes command|accessdate=May 2, 2014|url=http://www.bangkokpost.com/print/199149/|newspaper=Bangkok post|date=October 1, 2010}}</ref> และร่วมมือกับรัฐบาลยิ่งลักษณ์<ref>{{cite news|url=http://www.bangkokpost.com/lite/breakingnews/352027/no-military-reshuffle-yingluck-tells-army-chief|newspaper=[[Bangkok Post]]|date=May 27, 2013|title=No coup, Prayuth tells Yingluck}}</ref> ซึ่งชนะการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคม 2554 ระหว่าง[[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557|วิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556]] ต่อรัฐบาลยิ่งลักษณ์ เขาอ้างว่ากองทัพเป็นกลาง<ref>{{cite news|url=http://www.bangkokpost.com/news/politics/382363/prayuth-says-army-neutral|title=Prayuth says army neutral|newspaper=Bangkok Post|date=November 30, 2013}}</ref> และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหาร<ref name=npkc>{{cite web|title='ประยุทธ์-เหล่าทัพ'แถลง'ควบคุมอำนาจรัฐ'|trans_title=Prayuth and military chiefs are controlling state powers|url=http://www.komchadluek.net/detail/20140522/185160.html|date=May 22, 2014|accessdate=May 22, 2014|publisher=[[Komchadluek]]|archivedate=May 22, 2014|deadurl=no|archiveurl=//web.archive.org/web/20140522161112/http://www.komchadluek.net/detail/20140522/185160.html}}</ref> [[สุเทพ เทือกสุบรรณ]]เปิดเผยว่า ตนกับประยุทธ์วางแผนโค่นทักษิณด้วยตั้งแต่ปี 2553<ref name="Suthep"/>