ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัสยิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Krok6kola (คุย | ส่วนร่วม)
Patsagorn Y. (คุย | ส่วนร่วม)
fix {{cite web}}'s accessdate param (bot)
บรรทัด 6:
 
==ชื่อ==
ในไทยมีการเรียกมัสยิดหลายอย่าง เช่น<ref>{{cite web |title= มัสยิดในประเทศไทย |url= http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=36&chap=1&page=t36-1-infodetail07.html |publisher= สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว |language= ไทย |date=|accessdate= 19 พฤษภาคมMay 2558 }}</ref><ref>อาดิศร์ อิดรีส รักษมณี. "มัสยิดในแผ่นดินไทย", หน้า 121</ref>
 
* '''มัสยิด''' มาจากคำว่า ''มัสญิด'' ({{lang-ar|مسجد}} ''masjid'') เป็นคำที่ยืมมาจาก[[ภาษาอาหรับ]] แปลว่า "สถานที่กราบ" ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า "สถานที่ซึ่งอิสลามิกชนใช้เป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอิสลาม"<ref name= "ราช">[http://rirs3.royin.go.th/ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับสืบค้นออนไลน์]</ref> ในไทยใช้เรียกโรงสวดประจำเมืองใหญ่
* '''สุเหร่า''' ({{lang-ms|Surau}}) เป็นคำที่ยืมมาจาก[[ภาษามลายู]] แปลว่า "โรงสวด" ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า "ที่ประชุมทำศาสนกิจของมุสลิม"<ref name= "ราช"/> ในไทยใช้เรียกโรงสวดขนาดย่อมประจำตำบลหรือหมู่บ้าน ชาวบ้านไม่นิยมใช้ทำละหมาดวันศุกร์<ref>{{cite book | author = แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง | title = ทักษะวัฒนธรรม| url = http://www.sac.or.th/main/uploads/userfiles/image/taksawattanatam/p_refer.pdf | publisher = ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร | location = กรุงเทพฯ | year = 2552 | page = 39}}</ref>
* '''กะดี'''<ref>{{cite web |title=ตามรอยมุสลิมฝั่งธน มองผ่านสถาปัตยกรรมและชุมชน 3 กะดี|url=http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/life-style/culture/20120217/436660/%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9D%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%99-%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99-3-%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B5.html|publisher=กรุงเทพธุรกิจ|language=ไทย|date=17 กุมภาพันธ์ 2555|accessdate=20 มกราคมJanuary 2556}}</ref> หรือ '''กุฎี'''<ref name= "กุฎี"/> บ้างว่ามาจากคำว่า ''กะดีร์คุม'' ใน[[ภาษาเปอร์เซีย]]และอาหรับ แปลว่า "ตำบลศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ระหว่าง[[มักกะฮ์|นครมักกะฮ์]]กับ[[มะดีนะฮ์]]"<ref name= "กุฎี">จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์. ''[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=340979 “กะฎีเจ้าเซ็น” ในสยามประเทศ]''. เรียกดูเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2556</ref> บ้างว่ามาจากคำว่า ''กะเต'' ในภาษามลายูที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซียอีกที แปลว่า "พระแท่นที่ประทับ"<ref name= "กุฎี"/> ใช้เรียกศาสนสถานของทั้ง[[ชีอะฮ์]]และ[[ซุนนีย์]]ในภาคกลางของไทยและพบเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้น เช่น [[มัสยิดต้นสน|กุฎีใหญ่]], [[กุฎีเจริญพาศน์]], [[มัสยิดกุฎีหลวง|กุฎีหลวง]] และ[[มัสยิดบางหลวง|กุฎีขาว]]<ref>มัจญฺมะอ์ญะฮอนียฺตักรีบมะซอฮิบอิสลาม. ''[http://www.taqrib.info/thai/index.php?option=com_content&view=article&id=372:2011-01-14-05-59-56&catid=59:aghaliathaye-eslami&Itemid=157 มุสลิมในธนบุรี]''. เรียกดูเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2556</ref> เป็นต้น
* '''อิหม่ามบารา''' หรือ '''อิมามบาระฮ์''' มาจากคำว่า ''[[อิมาม]]'' ในภาษาอาหรับ หมายถึง "ผู้นำทางศาสนา"<ref name= "กุฎี"/> กับคำว่า ''บารา'' ใน[[ภาษาอูรดู]] แปลว่า "บ้าน"<ref name= "กุฎี"/> รวมกันมีความหมายว่า "เคหาสน์ของอิหม่าม" เป็นศัพท์ทางการใช้เรียกศาสนสถานของ[[ชีอะฮ์]]ในไทย<ref name= "กุฎี"/> สถานที่ที่เป็นอิหม่ามบารา เช่น กุฎีเจริญพาศน์, กุฎีบน และ[[มัสยิดตะเกี่ย|กุฎีใหญ่เติกกี้]]<ref>อาลีเสือสมิง. ''[http://www.alisuasaming.com/index.php/historyofislaminthailand/1230-historyofislaminthailand06 ศาสนสถานนาม “กุฎี” ในฝั่งธนบุรีและกรุงเก่า].'' เรียกดูเมื่อ 27 มกราคม 2556</ref> เป็นต้น
 
นอกจากนี้ยังปรากฏในเอกสารและบันทึกโบราณอีกหลายฉบับเรียกศาสนสถานในศาสนาอิสลามไว้หลากหลาย อาทิ '''เสร่า''', '''บาแล''' และ'''โรงสวดแขก''' เป็นต้น<ref>{{cite press release |title=มัสยิด-สุเหร่า|url=http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURONWIzVXdNakl5TVRFMU5RPT0=|publisher=ข่าวสด|language=ไทย|date=22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 |accessdate=20 มกราคมJanuary 2556}}</ref>
 
==ประวัติ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มัสยิด"