ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใยแก้วนำแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8368267 โดย FR30799386ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ลบโฆษณา+บล็อก
บรรทัด 17:
[[ไฟล์:Budowa swiatlowodu-8 zyl.svg|thumb|ออพติคเคเบิลประกอบด้วย 8 loose tube (e) มีสีกำกับตามตารางและใยแก้วนำแสงไม่เกิน 12 เส้น (f)]]
[[ไฟล์:Fiberkabel.jpg|thumb|ออพติคเคเบิลและใยแก้วนำแสงและสีกำกับ]]
มาตรฐานของสี<ref>[http://www.fiberoptics4sale.com/wordpress/fiber-optic-color-code-identification-chart/], มาตรฐานของสี</ref>
{|class="wikitable"
| ชุดที่/เส้นที่ || สี
บรรทัด 85:
ใช้เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูลด้านสื่อสารโทรคมนาคม เช่น[[สวิทช์]] [[เครือข่ายเชิงแสงแบบพาสซีพ]](Passive Optical Network)
 
== การแบ่งลักษณะการใช้งานของสาย Fiber Optic<ref name=":0">http://www.technetinfo.co.th/knowlage/78-about-fiber-optic.html</ref> ==
 
==== 1. Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร (Indoor) ====
บรรทัด 105:
 
== การสร้างเส้นใยแสงจากแท่งแก้วพรีฟอร์ม ==
การสร้างเส้นใยแสงจากแท่งแก้วพรีฟอร์ม มีขั้นตอนในการสร้างเริ่มต้นด้วยการนำสารที่จะใช้ในการสร้างเส้นใยแสงมาผ่านกระบวนการสร้างแท่งแก้วที่มีความโปร่งใสและความบริสุทธิ์สูง (Vapor phase depostion) จากนั้นจึงนำแท่งแก้วที่ได้มาให้ความร้อนเพื่อทำให้บริเวณปลายของแท่งแก้ว เกิดการยุบตัวกลายเป็นแท่งแก้วพรีฟอร์ม และนำแท่งแก้วพรีฟอร์มที่ได้มาทำการดึงเป็นเส้นใยแสงต่อไป โดยแท่[http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=tidtee&month=31-08-2008&group=3&gblog=3 ง]แท่งแก้วพรีฟอร์มที่สร้างได้นั้นจะมีความยาวประมาณ 60 ถึง 120 เซนติเมตร และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 ถึง 25 มิลลิเมตร
 
สำหรับวิธีการดึงแท่งแก้วพรีฟอร์มเพื่อทำให้เป็นเส้นใยแสง โดยปลายด้านที่ยุบตัวของแท่งแก้วพรีฟอร์มจะอยู่ภายในเตาหลอม (Drawing furnace) และถูกดึงเป็นเส้นใยแสง ซึ่งการทำงานต่าง ๆ จะควบคุมอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็นความเร็วในการดึงหรือขนาดของเส้นใยแสง จากนั้นเส้นใยแสงจะถูกหุ้มด้วยวัสดุที่มีความยืดหยุ่นเพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากฝุ่นและไอน้ำก่อนที่จะทำการม้วนเก็บ สำหรับวิธีการสร้างแท่งแก้วพรีฟอร์มมีอยู่ด้วยกัน 4 วิธี ได้แก่