ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยโตเกียว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vajiravitch (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7:
| ชื่ออังกฤษ = 東京大学 <br /> The University of Tokyo
| ชื่อย่อ = โทได / 東大, UT
| established = [[พ.ศ. 2420]] ({{อายุ|2420|1|1}}ปี)
| ประเภท = [[มหาวิทยาลัยรัฐ]]
| chairman = มาโคโตะ โกโนคามิ ([[:ja:五神真|五神真]])
บรรทัด 24:
}}
 
'''มหาวิทยาลัยโตเกียว''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 東京大学/ とうきょう だいがく [[โรมาจิ]]: Tōkyō Daigaku [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: ''โทเกียวไดงะกุ'') หรือย่อว่า '''โทได''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 東大 [[โรมาจิ]]: Tōdai)<ref>[http://todai-yale.jp/whatis_todai.html What is Todai?]</ref> เป็น[[มหาวิทยาลัย]]ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]]ในลักษณะของมหาวิทยาลัยวิจัย ตั้งอยู่ที่[[เมืองโตเกียว]] มีพื้นที่แยกออกเป็น 5 วิทยาเขต ใน [[ฮงโง]] [[สถานีโคมาบะ-โตไดมาเอะ|โคมาบะ]] [[คาชิวะ]] [[ชิโรงาเนะ]] และ [[นากาโนะ]] และได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีเกียรติมากที่สุดในญี่ปุ่น<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/books?id=NZ4pg2nL7asC&pg=PA156&dq=%22university+of+tokyo%22+prestigious#v=onepage&q=%22university%20of%20tokyo%22%20prestigious&f=false |page=156|title=The School and the University |publisher= University of California Press|year=1985|isbn=0-520-05423-7}}</ref><ref>{{cite book|url=http://books.google.com/books?id=uEfpjsYFo1cC&pg=PA148&dq=%22university+of+tokyo%22+prestigious#v=onepage&q=%22university%20of%20tokyo%22%20prestigious&f=false |title=Arthritic Japan: the slow pace of economic reform |first= Edward J.|last=Lincoln |publisher= Brookings Institution Press|year= 2001 |isbn= 0815700733|page=148}}</ref> และยังจัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก
 
มหาวิทยาลัยโตเกียวประกอบด้วย 10 คณะซึ่งมีนักศึกษารวมทั้งสิ้นประมาณ 30,000 คน ในจำนวนนี้มีนักศึกษาต่างชาติประมาณ 2,100 คนเป็นนักศึกษาไทยประมาณ 150 คน (ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงทีสุดในบรรดามหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น) ปัจจุบันมีหลักสูตรครอบคลุมสาขาวิทยาการเกือบทั้งหมด แต่ที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ [[กฎหมาย]] [[รัฐศาสตร์]] [[วรรณกรรม]] [[เศรษฐศาสตร์]] [[แพทยศาสตร์]]และ และ[[วิศวกรรมศาสตร์]] มหาวิทยาลัยแห่งนี้ผลิตนักการเมืองและข้าราชการระดับสูงของญี่ปุ่นจำนวนมาก นับแต่อดีตจนปัจจุบันแม้ว่าสัดส่วนจะลดลงก็ตาม อัตราส่วนของรัฐมนตรีที่เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโตเกียวยังคงสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น โดยแต่ละช่วงคริสต์ศตวรรษจะอยู่ที่ประมาณ {{เศษ|2|3}}, {{เศษ|1|2}}, {{เศษ|1|4}}, {{เศษ|1|5}} และ {{เศษ|1|6}} ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 1950, 60', 70', 80' และ 90' ตามลำดับ
 
มหาวิทยาลัยโตเกียวมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับว่า เป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นสูงในหลากหลายสาขาวิชา และมีอัตราการแข่งขันในการเข้าศึกษาสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยโตเกียวมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งอยู่หกมหาวิทยาลัย เช่น [[มหาวิทยาลัยเคโอ]]ซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง [[มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิ]]ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือ[[มหาวิทยาลัยเกียวโต]]ซึ่งผลิตนักวิทยาศาสตร์[[รางวัลโนเบล]]เป็นจำนวนมาก หนึ่งในศิษย์เก่าเจ้าของรางวัลโนเบลของมหาวิทยาลัยโตเกียวคืออธิการบดีมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพิเรียลชื่อ ศาสตราจารย์ คิคุจิ ไดโรกุ ในด้านกีฬา ทีมเบสบอลมหาวิทยาลัยโตเกียว ประสบความสำเร็จมากที่สุดทีมหนึ่งในระดับมหาวิทยาลัยของกรุงโตเกียว