ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาวุธ เงินชูกลิ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Infobox Architect
|image = อาวุธ เงินชูกลิ่น.jpg
|caption name = ศาสตราภิชาน พลอากาศตรี อาวุธ เงินชูกลิ่น
|name honorific_prefix = [[ศาสตราภิชาน]] [[พลอากาศตรี อาวุธ เงินชูกลิ่น]]
|nationality = ไทย
|birth_date = 22 มีนาคม พ.ศ. {{วันเกิด|2485|3|22}}
|birth_place = {{flag|ไทย}}
|alma_mater = [[สถาปัตยกรรมไทย]] [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] <br> [[วิทยาลัยช่างศิลป|โรงเรียนช่างศิลป]] <br> [[โรงเรียนวัดราชโอรส]] <br> โรงเรียนวัจนะศึกษา
| honorific_suffix = [[มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก|ม.ป.ช.]], [[มหาวชิรมงกุฎ|ม.ว.ม.]], [[ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ|ต.จ.ว.]], [[จตุตถดิเรกคุณาภรณ์|จ.ภ.]]
|current_residence =
|death_date = 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. {{วันตายและอายุ|2556 (70 ปี)|2|17|2485|3|22}}
|death_place =
|practice_name =
บรรทัด 25:
}}
 
ศาสตราภิชาน พลอากาศตรี '''อาวุธ เงินชูกลิ่น''' <!-- Air Vice Marshal Arvuth Ngoenchuklin --> ([[22 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2485]][[17 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2556]]) เป็นทหารอากาศและสถาปนิกชาวไทย อดีตอธิบดี[[กรมศิลปากร]] อาจารย์พิเศษในหลายมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบสถาปัตยกรรมไทย หัวหน้าผู้ออกแบบ[[พระเมรุ]] ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพถึง 3 ครั้ง ได้แก่ [[พระเมรุ]] [[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] [[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]] และ [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] ณ ท้อง[[สนามหลวง]]<ref>[http://www.manager.co.th/CelebOnline/ViewNews.aspx?NewsID=9560000020202 สิ้น พลอากาศตรี อาวุธ เงินชูกลิ่น ศิลปินแห่งชาติ 3 พระเมรุ], manageronline .วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556</ref>
 
พล.อ.ต.อาวุธ ยังได้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยในงานออกแบบถึง 2 งานหลัก ๆ ได้แก่ [[วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก]] [[ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร]]<ref>[http://www.thaiday.com/CelebOnline/ViewNews.aspx?NewsID=9550000000945 9 สถาปัตย์ศิลป์ที่ "ในหลวง" ทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยในการออกแบบ], thaisday .วันที่ 4 มกราคม 2555</ref> นอกจากนี้ยังเป็นผู้รับผิดชอบในการบูรณะปฏิสังขรณ์ [[โบราณสถาน]]แห่งชาติที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็นงานงานบูรณะมณฑป [[โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร]] ในปี พ.ศ 2539 ให้เป็นมณฑปสีดำ หรือหุ้มด้วยทองแดง<ref>[http://manager.co.th/CelebOnline/ViewNews.aspx?NewsID=9530000132078 อ.แพน - เผ่าทอง ชวนชม "โลหะปราสาท" ผ่านเทคนิคพิเศษ ], manageronline .วันที่ 24 กันยายน 2553</ref> ยอดพระมหา[[มณฑป]] [[วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร]]<ref>[http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/36448 "พระมหามณฑป" วัดไตรมิตร สง่างาม สร้างเพื่อถวายในหลวง], คมชัดลึก .วันที่ 10 พ.ย. 2552</ref> จนต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็น [[ศิลปินแห่งชาติ]]สาขา[[ทัศนศิลป์]] (ประยุกต์ศิลป์) สาขาย่อย [[สถาปัตยกรรม]] ประจำปี พ.ศ. 2539