ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โพไซดอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''โพไซดอนพิเชษฐ์''' ({{lang-en|Poseidon}}, {{IPA-en|poʊˈsaɪdᵊn, pəˈsaɪdᵊn,|pron}}; {{lang-el|Ποσειδών}}, {{IPA|[pose͜edɔ́͜ɔn]}}) เป็นหนึ่งใน[[เทวสภาโอลิมปัส|สิบสองเทพเจ้าโอลิมปัส]]ใน[[เทพปกรณัมกรีก]] พระราชอาณาเขตหลักคือมหาสมุทร และพระองค์ทรงได้รับขนานพระนามว่า "สมุทรเทพ" นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงได้รับขนานพระนามว่า "ผู้เขย่าโลก" (Earth-Shaker)<ref>Modern Greek media (e.g. [http://www.tanea.gr/ellada/article/?aid=4622103 "The Pacific: A history full of earthquakes"] ''[[Ta Nea]]'', 2011) and scholars (e.g. [http://www.koutouzis.gr/ifestia+sismoi.htm Koutouzis, Vassilis] ''Volcanoes and Earthquakes in [[Troizinia]]'') do not [[metaphor]]ically refer to Poseidon but instead to [[Enceladus (mythology)|Enceladus]], the chief of the [[Giants (Greek mythology)|ancient Giants]], to denote earthquakes in Greece.</ref> เนื่องจากบทบาทของพระองค์ในการก่อแผ่นดินไหว และ "ผู้กำราบม้า" (tamer of horses)<ref name="Burkert1985Poseidon">{{cite book | last=Burkert | first=Walter | authorlink=Walter Burkert | title=Greek Religion | year=1985 | publisher=Harvard University Press | location=Cambridge, MA | isbn=0-674-36281-0 | pages=136–39}}</ref> พระองค์มักได้รับการพรรณาว่าเป็นบุรุษสูงวัย มีพระเกษาหยิกและมีพระมัสสุ (หนวด)
 
แผ่นจารึก[[อักษรไลเนียร์บี]]แสดงว่า ที่ไพลอสและธีบส์กรีซยุคสำริดก่อนมีเทพเจ้าโอลิมปัสมีการบูชาโพไซดอนเป็นเทพเจ้าหลัก แต่ภายหลังมีการรวมพระองค์เข้าเป็นเทพเจ้าโอลิมปัสในฐานะพระอนุชาของเฮดีสและพระเชษฐาของซูส ตำนานพื้นบ้านบางตำนานเล่าว่า [[เรีย]] พระมารดาของพระองค์ ช่วยพระองค์ไว้โดยซ่อนพระองค์ไว้กับฝูงแกะแล้วแสร้งทำเป็นว่าให้กำเนิดลูกลาออกมา เพื่อมิให้ถูก[[โครนัส]]กลืนกิน<ref name="ReferenceA">In the 2nd century AD, a well with the name of ''Arne'', the "lamb's well", in the neighbourhood of [[Mantineia]] in [[Arcadia]], where old traditions lingered, was shown to [[Pausanias (geographer)|Pausanias]]. (Pausanias viii.8.2.)</ref>