ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปอรานากัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เปลี่ยนกลุ่มอ้างอิงจาก "หนังสือ" เป็นกลุ่มทั่วไป
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]] นิยาม "บาบ๋า" และ "ย่าหยา" ว่า ''"เรียกชายที่เป็นลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดในมลายูและอินโดนีเซีย ว่า บ้าบ๋า, คู่กับ ย่าหยา ซึ่งหมายถึงหญิงลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดใน มลายูและอินโดนีเซีย."'' อย่างไรก็ตามชาวเปอรานากันใน[[ประเทศไทย]] บริเวณจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันโดยเฉพาะ[[ภูเก็ต]] [[จังหวัดพังงา|พังงา]] [[จังหวัดระนอง|ระนอง]]<ref group="หนังสือ">รงรอง วงศ์โอบอ้อม (2019). ''history of MALAYSIA ประวัติศาสตร์มาเลเซีย.'' pp. 248. [http://www.search.nlt.go.th:1701/primo-explore/fulldisplay?docid=ALEPH_MONO000577773&context=L&vid=NLTOPAC&lang=en_US&search_scope=ALEPH_MONO&adaptor=Local%20Search%20Engine&tab=default_tab&query=any,contains,978-616-478-614-1&offset=0 ISBN 978-616-478-614-1]. </ref> และ[[ตรัง]]ทั้งเพศชายและหญิง จะถูกเรียกรวม ๆ ว่า บ้าบ๋า หรือบาบา ส่วน ย่าหยา เป็นเพียงชื่อของชุดสตรีเท่านั้น{{อ้างอิง}} ส่วนในภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีกระจายตัวอยู่แถบพื้นที่โดยเฉพาะ[[ปัตตานี]] [[สงขลา]] [[นราธิวาส]]
 
อย่างไรก็ดี ชาวจีนที่อพยพมาทางภาคใต้ฝั่งตะวันออกของ[[ประเทศไทย]]สมัยโบราณตั้งแต่ต้นรัตนโกสินทร์จนถึงรัชกาลที่ 5 ส่วนใหญ่จะเป็นชาวจีนฮกเกี้ยนซึ่งจะกระจายอยู่แถบพื้นที่โดยเฉพาะ[[ปัตตานี]] [[สงขลา]] [[นราธิวาส]] ถ้าเป็นลูกครึ่งจีนหรือลูกจีนที่เกิดในพื้นที่ ก็จะเรียกว่า บาบ๋า หรือ เปอรานากัน ด้วยเช่นกัน เปอรานากันต่างจากชาว[[ไทยเชื้อสายจีน]]ตรงที่ไทยเชื้อสายจีนไม่ได้[[เทศกาลกินเจ|กินเจ]] ไทยเชื้อสายจีนในภาคใต้พูด[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]] (ถิ่นหาดใหญ่และถิ่นบ้านดอนเป็นต้น) ชาวเปอรานากันพูด[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]] (ถิ่นภูเก็ต) เป็นภาษาหลัก และ ชาวเปอรานากันไม่มี[[แซ่]]
 
== ประวัติ ==