ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918–1919"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 79:
'''การปฏิวัติเดือนพฤศจิกายน''' ({{lang-de|Novemberrevolution}}) หรือ '''การปฏิวัติเยอรมัน''' เป็นสงครามกลางเมืองใน[[จักรวรรดิเยอรมัน]]ในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]สิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของ[[ฝ่ายมหาอำนาจกลาง]] ซึ่งได้ส่งผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก[[ราชาธิปไตย|ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ]]มาเป็นระบอบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยในระบบสภาเดี่ยว) ซึ่งเวลาต่อมาได้กลายเป็นที่รู้จักกันคือ [[สาธารณรัฐไวมาร์]] การปฏิวัติได้เริ่มขึ้นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 จนถึง เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1919 หลังรัฐธรรมนูญแห่งไวมาร์ถูกประกาศใช้
 
สาเหตุของการปฏิวัติมาจากการรับภาระหนักของประชาชนในช่วงสี่ปีของสงคราม, ผลกระทบที่รุนแรงจากความพ่ายแพ้ของจักรวรรดิเยอรมันและเกิดสภาวะความตรึงเครียดทางสังคมระหว่างประชาชนธรรมดากับขุนนางชนชั้นสูงที่ครองอำนาจและเพิ่งแพ้สงครามและ[[ชนชั้นกระฎุมพี|ชนชั้นกลาง]]ของนายทุน, ที่ครองอำนาจและเพิ่งแพ้สงคราม
 
รากเหง้าของการปฏิวัติได้ถูกวางเอาไว้ในความปราชัยของจักรวรรดิเยอรมันสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและความตึงเครียดทางสังคมที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นไม่นาน ขั้นแรกของการปฏิวัติได้ถูกจุดชนวนโดยนโยบายของกองบัญชาการระดับสูงแห่งกองทัพบกเยอรมันและขาดการประสานงานกับกองบัญชาการกองทัพเรือ เมื่อเผชิญความพ่ายแพ้ กองบัญชาการกองทัพเรือได้ยืนยันที่จะพยายามเร่งรัดการสู้รบที่สำคัญกัลกับกองทัพราชนาวีแห่งอังกฤษโดยคำสั่งกองทัพเรือ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ยุทธนาวีไม่เคยเกิดขึ้น แทนที่จะปฏิบัติตามคำสั่งของพวกเขากองบัญชาการกองทัพเรือเพื่อเริ่มเตรียมเข้าสู้รบกับอังกฤษ ทหารเรือเยอรมันได้ก่อจลาจลที่ท่าเรือของกองทัพเรือที่ wilhelmshaven เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ตามมาด้วยการก่อกบฏที่คีลในวันแรกของเดือนพฤศจิกายน ความโกลาหลครั้งนี้ได้แพร่กระจายไปถึงจิตวิญญาณของพลเมืองได้เกิดความระส่ำระสายไปทั่วเยอรมนีและท้ายที่สุดได้นำสู่การประกาศสาธารณรัฐ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 หลังจากนั้นไม่นาน [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]] ทรงสละราชบัลลังก์ และลี้ภัยออกนอกประเทศ
 
การปฏิวัติ, ได้รับแรงบันดาลใจจากอุดมการณ์สังคมนิยม ไม่ได้รับมอบอำนาจให้กับสภาโซเวียตแบบที่พวกบอลเชวิกทำกันใน[[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]] เพราะผู้นำของพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี(SPD)ได้ขัดขวางการก่อตั้ง พรรค SPD ได้เลือกใช้แทนสภาแห่งชาติที่น่าจะเป็นพื้นฐานของระบบรัฐสภาเดี่ยวของรัฐบาล<ref>Ralf Hoffrogge, Working-Class Politics in the German Revolution. Richard Müller, the Revolutionary Shop Stewards and the Origins of the Council Movement, Brill Publications 2014, {{ISBN|978-90-04-21921-2}}, pp. 93–100.</ref> ด้วยความหวาดกลัวว่าจะเกิดสงครามกลางเมืองอย่างเต็มรูปแบบในเยอรมนีระหว่างผู้ต่อสู้รบที่มาจากคนงานและนักอนุรักษนิยมขวาจัด พรรค SPD ไม่ได้วางแผนที่จะดึงชนชั้นสูงของเยอรมันอย่างสมบูรณ์ถึงอำนาจและสิทธิพิเศษของพวกเขา มันได้พยายามรวมตัวเข้ากับระบบประชาธิปไตยสังคมใหม่ ในความพยายามนี้ พรรค SPD ฝ่ายซ้ายมีความต้องการที่จะเป็นพันธมิตรกับกองบัญชาการทหารสูงสุดเยอรมัน ครั้งนี้ได้อนุญาตให้กองทัพและ[[ไฟรคอร์]] (ทหารอาสาสมัครฝ่ายชาตินิยม) เพื่อเข้าปราบปรามการก่อการกำเริบสปาตาคิสท์ของฝ่ายคอมมิวนิสต์ เมื่อวันที่ 4-15 มกราคม ค.ศ. 1919 โดยใช้กำลัง พันธมิตรเดียวกันของกองกำลังทางการเมืองได้ประสบความสำเร็จในการปราบปรามการก่อการของพวกฝ่ายซ้ายในส่วนอื่นๆของเยอรมนี ด้วยผลทำให้ประเทศนั้นได้สงบลงอย่างสมบูรณ์ เมื่อปลายปี ค.ศ. 1919