ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำตาลรีดิวซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZilentFyld (คุย | ส่วนร่วม)
ZilentFyld (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Glucose chain structure.svg|thumb|รูปแบบรีดิวซ์ของ[[กลูโคส]]]]
 
'''น้ำตาลรีดิวซ์''' ({{lang-en|Reducing sugar}}) คือน้ำตาลใด ๆ ที่สามารถทำหน้าที่เป็นตัวรีดิวซ์ได้เนื่องจากมีหมู่[[อัลดีไฮด์]]อิสระหรือหมู่[[คีโตน]]อิสระ<ref>{{cite book |last1=Pratt |first1=Charlotte W. |last2=Cornely |first2=Kathleen |date=2013 |title=Essential Biochemistry |publisher=Wiley |edition=Third |page=626 |isbn= 978-1118083505}}</ref> [[โมโนแซ็กคาไรด์]]ทั้งหมดเป็นน้ำตาลรีดิวซ์ เช่นเดียวกันกับ[[ไดแซ็กคาไรด์]]บางชนิด [[โอลิโกแซ็กคาไรด์]]บางชนิด และ[[โพลีแซ็กคาไรด์]]บางชนิด มอโนแซ็กคาไรด์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม: [[อัลโดส]]ซึ่งมีหมู่อัลดีไฮด์ และ[[คีโตส]]ซึ่งมีหมู่คีโตน คีโตสจะต้องปรับให้เป็นอัลโดสก่อนที่สามารถทำหน้าที่เป็นน้ำตาลรีดิวซ์ได้ โมโนแซ็กคาไรด์ในอาหารทั่วไป [[กาแลคโตส]] [[กลูโคส]] และ[[ฟรุกโตส]]ล้วนเป็นน้ำตาลรีดิวซ์
 
ไดแซ็กคาไรด์ซึ่งเกิดจากโมโนแซ็กคาไรด์สองโมเลกุลสามารถจำแนกได้ว่าเป็นน้ำตาลรีดิวซ์หรือไม่ใช่ ไดแซ็กคาไรด์ที่ไม่ใช่น้ำตาลรีดิวซ์เช่น[[ซูโครส]]และ[[ทรีฮาโลส]]มี[[พันธะไกลโคซิดิก]]ระหว่างคาร์บอนอโนเมอร์ จึงไม่สามารถเปลี่ยนเป็นรูปโซ่เปิดที่มีหมู่อัลดีไฮด์ได้ ติดอยู่ในรูปไซคลิก ไดแซ็กคาไรด์รีดิวซ์เช่นแลคโตสและมอลโตสมีคาร์บอนอโนเมอร์เพียงหนึ่งในสองของพวกมันที่เกี่ยวข้องกับพันธะไกลโคซิดิก ในขณะที่อีกตัวหนึ่งเป็นอิสระและสามารถเปลี่ยนเป็นรูปโซ่เปิดที่มีหมู่อัลดีไฮด์ได้