ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บีเอ็นเคโฟร์ตีเอต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอัลบั้มที่ 3
บรรทัด 57:
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:BNKLogo.jpg|thumb|alt=BNK48 Logo|สัญลักษณ์ของ BNK48|209x209px]]
=== พ.ศ. 2554–2559: ก่อนเปิดตัวและการคัดเลือกสมาชิก ===
ก่อนที่จะมีการประกาศอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการจัดตั้งวงบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2554 [[ยะซุชิ อะกิโมะโตะ|ยาซูชิ อากิโมโตะ]] ผู้ก่อตั้งแฟรนไชส์[[เอเคบีโฟร์ตีเอต]] ได้ให้สัมภาษณ์กับนิตยสารจีคิว (GQ)<ref>{{Cite web|title=AKB48プロジェクトの創造者、秋元 康が、いまの日本の、おもしろさを語る【2】|author=鈴木正文|publisher=GQ JAPAN|website=gqjapan.jp|date=2012-03-07|url=http://gqjapan.jp/more/people/20120307/akb48-2|language=ja|accessdate=2016-05-04}}</ref> และรายการทีวีวารัตเตะ อีโตโมะ<ref>{{cite web|title=【エンタがビタミン♪】「数年後は世界で総選挙も」。秋元康が“いいとも”でAKBの将来性について語る。|author=真紀和泉|publisher=Techinsight|website=japan.techinsight.jp|language=ja|date=2011-12-23|url=http://japan.techinsight.jp/2011/12/akimotoyasusi-iitomo-akbkousou.html|accessdate=2016-05-04}}</ref> ของประเทศญี่ปุ่น ถึงความเป็นไปได้ในการจัดตั้งวงน้องสาวนอกประเทศญี่ปุ่นต่อจากวง[[เจเคทีโฟร์ตีเอต]] (JKT48) ซึ่งประเทศที่เป็นไปได้ก็คือประเทศไต้หวันและประเทศไทย
บรรทัด 103:
 
=== พ.ศ. 2563: งานเลือกตั้งเซ็มบัตสึครั้งที่สอง การเปิดตัวรุ่นที่ 3 และงานเป่ายิ้งฉุบเลือกเซ็มบัตสึครั้งแรก ===
วันที่ 17 มกราคม ดุสิตา กิติสาระกุลชัย (แนทเธอรีน) และณัชชา กฤษฎาสิมะ (อุ้ม) ได้ประกาศจบการศึกษา โดยทั้งสองเป็นสมาชิกรุ่นที่ 2 คนที่ 4 และ 5 ที่ประกาศจบการศึกษา งานสุดท้ายที่แนทเธอรีนและอุ้มเข้าร่วมคืองานจับมือ BNK48 7<sup>th</sup> Single 77 no Suteki na Machi e Handshake Event วันที่ 15–16 กุมภาพันธ์<ref>{{cite web|url=https://www.sanook.com/music/2415625/|title=ช็อก! "แนทเธอรีน-อุ้ม" ประกาศจบการศึกษาจากวง "BNK48" พร้อมกัน|website=Sanook.com|date=2020-01-17|accessdate=2020-01-17}}</ref> ต่อมาวันที่ 8 กุมภาพันธ์ มนัญญา เกาะจู (นิ้ง) ได้ประกาศจบการศึกษา โดยกิจกรรมสุดท้ายที่นิ้งเข้าร่วมคืองานจับมือ BNK48 7<sup>th</sup> Single 77 no Suteki na Machi e Handshake Event วันที่ 15–16 กุมภาพันธ์ เช่นกัน วันที่ 23 กุมภาพันธ์ วงได้เปิดตัวเพลง [[ไฮเทนชัน (เพลง)#ฉบับบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต|ไฮเทนชัน]] พร้อมมิวสิกวิดีโอในงาน BNK48: Welcome to High Tension Company ณ ลานรีเวอร์ พาร์ค [[ไอคอนสยาม]]<ref>{{cite web|url=https://thestandard.co/bnk48-high-tension/|title=BNK48 เปิดตัว High Tension ซิงเกิลที่ 8 และเซ็นเตอร์ครั้งแรกของ ‘น้ำหนึ่ง’ เพลงที่ชวนทุกคนออกมาเต้นให้หายเครียด|website=thestandard.co|date=2020-02-24}}</ref> วันที่ 19 เมษายน มีการประกาศผล[[การเลือกตั้งทั่วไปเซ็มบัตสึบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต ประจำซิงเกิลที่ 9]] ซึ่งในการเลือกตั้งเซ็มบัตสึครั้งนี้ ผู้ที่ได้อันดับ 1 ได้แก่ กุลจิราณัฐ อินทรศิลป์ (เจน) ได้เป็นเซ็นเตอร์ในซิงเกิลลำดับที่ 9<ref>{{cite web|url=https://music.trueid.net/detail/v6nAQZq53oLd|title=สรุปผลงานเลือกตั้ง BNK48 General Election เจน BNK48 คว้าอันดับ 1 เฌอปราง มิวสิค คว้าอันดับ 2 และ 3|website=True ID Music|date=2020-04-19|accessdate=2020-07-26}}</ref> วันที่ 11 มิถุนายน [[เพลินพิชญา โกมลารชุน]] (จูเน่) ประกาศจบการศึกษา แต่ยังคงเป็นศิลปินในค่าย iAM โดยจูเน่เป็นสมาชิกรุ่นที่ 2 คนที่ 6 ที่ประกาศจบการศึกษา<ref>{{cite web|url=https://www.mangozero.com/june-bnk48-grad/|title=[Breaking] จูเน่ BNK48 ประกาศจบการศึกษา|website=Mango Zero|date=2020-06-11|accessdate=2020-06-11}}</ref> วันที่ 26 กรกฎาคม วงได้เปิดตัวเพลง [[เฮฟวีโรเทชัน#ฉบับบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต|เฮฟวีโรเทชัน]] พร้อมมิวสิควิดีโอในงาน BNK48 Wonderland ณ อัลตร้า อารีน่า ฮอลล์ [[โชว์ดีซี]]<ref>{{cite web|url=https://www.brighttv.co.th/entertain/9th-single-heavy-rotation|title=เปิดตัวแล้ว! 9th Single “Heavy Rotation” ในงาน BNK48 WONDERLAND|website=Bright TV|date=2020-07-26|accessdate=2020-07-26}}</ref> วันที่ 9 สิงหาคม วงเปิดตัวสมาชิกรุ่นที่ 3 จำนวน 19 คน<ref>{{cite web|url=https://thestandard.co/bnk48-3rd-generation/|title=ทำความรู้จักสมาชิก BNK48 รุ่นที่ 3 พร้อมช่องทางโซเชียลมีเดียอย่างเป็นทางการของทั้ง 19 คน|author=รพีพรรณ เกตุสมพงษ์|date=2020-08-10|accessdate=2020-08-12}}</ref> วันที่ 26 กันยายน มีการจัด[[งานเป่ายิ้งฉุบเลือกเซ็มบัตสึ บีเอ็นเคโฟร์ตีเอต ประจำปี 2563|งานเป่ายิ้งฉุบเลือกเซ็มบัตสึครั้งแรก]]ในชื่อ "BNK48 JANKEN Tournament 2020 – The Senbatsu of Destiny" ที่ศูนย์การค้า[[ยูเนี่ยน มอลล์]] ซึ่งเป็นงานที่ใช้การแข่งขัน[[เป่ายิ้งฉุบ]]ในการเลือกเซ็มบัตสึเพลงหลักของอัลบั้มที่สามของวง<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/entertain/news/1934541|title=เผยผลจับสลากประกบคู่ BNK48 Janken Tournament 2020 วัดดวงหาเซ็นเตอร์| website=Thairath|date=2020-09-26|accessdate=2020-09-26}}</ref> ซึ่งผู้ชนะเลิศได้แก่ ณัฐกุล พิมพ์ธงชัยกุล (จีจี้) ได้เป็นเซ็นเตอร์เพลงหลักอัลบั้มที่สาม<ref>{{cite web|url=https://www.sanook.com/music/2424729/|title=“จีจี้” มาพร้อมดวง! “เป่ายิ้งฉุบ” จนชนะงานจังเก้นจนเป็นเซ็นเตอร์เพลงใหม่ BNK48|website=Sanook|date=2020-09-26|accessdate=2020-09-26}}</ref> ต่อมาในวันที่ 5 พฤศจิกายน จุฑามาศ คลทา (เข่ง) และ ปวีณ์ธิดา สกุลพิพัฒน์ (ฟีฟ่า) ได้ประกาศจบการศึกษาเป็นคนที่ 7 และ 8 ของรุ่นที่ 2 ตามลำดับ โดยฟีฟ่ายังคงเป็นศิลปินในค่าย iAM ส่วนงานสุดท้ายที่ทั้ง 2 คนเข้าร่วมคือการแสดงแบบเดี่ยวในโรงละคร โดยเข่งจะแสดงในวันที่ 4 ธันวาคม<ref>{{cite web|url=https://www.dailynews.co.th/entertainment/805226|title=ช็อกเหล่าโอตะ 'เข่งBNK48' ประกาศจบการศึกษาแล้ว!|website=เดลินิวส์|date=November 5, 2020|accessdate=November 5, 2020}}</ref> ส่วนฟีฟ่าจะแสดงภายในสิ้นเดือนธันวาคม<ref>{{Cite web|last=|first=|authorlink=www.sanook.com|date=5 พฤศจิกายน 2563|title="ฟีฟ่า BNK48" โบกมือลาการเป็นไอดอล ประกาศจบการศึกษากลางไลฟ์|url=https://www.sanook.com/music/2425845/|url-status=live|archive-url=|archive-date=|access-date=5 พฤศจิกายน 2563|website=[[สนุก.คอม]]}}</ref> ในวันที่ 29 พฤศจิกายน วงได้ประกาศรายละเอียดอัลบั้มที่ 3 ของวงในชื่ออัลบั้ม ''Warota People''
 
ในปีเดียวกัน มีการตั้งไลร่า (Lyra) เป็นกลุ่มย่อย (ยูนิต) ที่ 2 เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตและ[[ยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุป]]<ref>{{url=https://thestandard.co/bnk48-launched-universal-music-unit-with-lyra/|title=BNK48 เปิดตัวยูนิต Universal Music ในชื่อ Lyra กับ 6 สาวแห่งดวงดาวที่อยากจะผลักดัน T-POP สู่ระดับโลก|website=The Standard|date=July 16, 2020|accessdate=November 5, 2020}}</ref> ซิงเกิลแรกของยูนิต "LYRA" เผยแพร่ในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2563<ref>{{url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/901468|title=DEBUT แล้ว ‘LYRA’ เกิร์ลกรุ๊ปที่จะทำให้วงการ T-Pop สะเทือน|website=กรุงเทพธุรกิจ|date=October 8, 2020|accessdate=November 5, 2020}}</ref>
บรรทัด 279:
 
==== ประวัติ ====
'''ไลร่า''' ชื่อยูนิตนี้ มาจากชื่อของ[[กลุ่มดาวพิณ]] ประกอบด้วยสมาชิก 6 คน ได้แก่ ปัญ ([[ปัญสิกรณ์ ติยะกร]]), เจนนิษฐ์ ([[เจนนิษฐ์ โอ่ประเสริฐ]]), เนย ([[กานต์ธีรา วัชรทัศนกุล]]), ฟ้อนด์ ([[ณัฐทิชา จันทรวารีเลขา]]), นิว ([[ชัญญาภัค นุ่มประสพ]]) และนิกี้ ([[วรินท์รัตน์ ยลประสงค์]])
 
มีที่มาจากนาย ณัฐพล บวรวัฒนะ กรรมการบริหารฝ่ายปฏิบัติการณ์ บริษัท อินดิเพนเด้นท์ อาร์ทิสท์ เมเนจเม้นท์ จำกัด ได้ทำการคัดเลือกสมาชิก 6 คนของวง ซึ่งได้ผ่านการออดิชั่นอย่างเข้มข้นเมื่อปลายปี พ.ศ. 2562<ref>{{cite web|url=https://www.prachachat.net/public-relations/news-502208|title=Independent Artist Management จับมือ Universal Music Group (Thailand)|work=ประชาชาติธุรกิจ|date=October 7, 2020|accessdate=October 9, 2020}}</ref> ซึ่งเป้าหมายของโปรเจกต์นี้คือ การถ่ายทอดเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละคนออกมาอย่างชัดเจน ให้เห็นอีกมุมหนึ่งที่ยังไม่เคยเห็นจากสมาชิก กลุ่มนี้มาก่อน สร้างตลาด T-POP ให้เกิดขึ้นจริงอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นตัวแทนของศิลปินวัยรุ่นไทย ที่สร้างผลงานที่แตกต่างสู่สายตาคนทั้งโลก <ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/entertain/news/1948529|title=6 ไอดอลสาวพลิกโฉม สู่เกิร์ลกรุ๊ปคุณภาพ ปล่อยซิงเกิลแรกของวง "LYRA"|work=Thairath online|date=October 8, 2020|accessdate=November 3, 2020}}</ref>