ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ice 4402 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Ice 4402 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
 
 
พูนสวัสดิ์เป็นลูกชายของ [[พูนสวัสดิ์ ศิษย์ศรทอง]] อดีตแชมป์มวยไทย[[เวทีราชดำเนิน]] รุ่น 126 ปอนด์ เคยชกมวยไทยมาก่อนในชื่อ '''พูนสวัสดิ์ ว.สิงห์เสน่ห์''' <ref name="Poon">[http://thaiworldboxingchampions.blogspot.com/search?updated-max=2008-08-31T15:43:00%2B07:00&max-results=1&start=5&by-date=false], คำอธิบายเพิ่มเติม.</ref> ชกมวยสากลครั้งแรกเมื่อวันที่ [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2544]] ชนะน็อค รามิค ลทอม นักมวยชาวฟิลิปปินส์ไปแค่ยกแรกจากการชก กำหนด 6 ยก ต่อจากนั้น ชกชนะอีกสองครั้ง จึงได้ชิงแชมป์สมาคมมวยแห่งเอเชียในรุ่น[[แบนตัมเวทตั้มเวท]] และป้องกันตำแหน่งได้หลายครั้ง ก่อนจะขึ้นชิงแชมป์โลกเฉพาะกาล WBA กับ [[ริคาร์โดการ์โด คอร์โดบากอร์โดบา]] นักมวยชาวปานามา และป้องกันไว้ได้หนึ่งครั้ง ก่อนจะต้องมาชกเพื่อชิงแชมป์จริงกับ [[วลาดิเมียร์ ไซโดเรนโก]] นักมวยชาวยูเครน อดีตคู่ชกของ[[วิจารณ์ พลฤทธิ์]] ในการแข่งขัน[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2000]] ที่[[ซิดนีย์]] [[ประเทศออสเตรเลีย]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จเมื่อเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป
 
พูนสวัสดิ์ได้เลื่อนรุ่นขึ้นไปชกในรุ่น[[ซูเปอร์แบนตั้มเวท]] และประสบความสำเร็จในการชิงแชมป์​โลก WBA ในรุ่นนี้ เมื่อเป็นฝ่ายชนะน็อก [[เบอร์นาร์ด ดันน์]] เพียงแค่ยกที่ 3 ที่[[ประเทศไอร์แลนด์]] ในถิ่นของดันน์เอง เมื่อเดือน[[กันยายน]] [[พ.ศ. 2552]] ซึ่งในครั้งนี้พูนสวัสดิ์มีความสมบูรณ์ทางร่างกายมาก จนทางสื่อมวลชนท้องถิ่นตั้งฉายาให้ว่า "ไทยพูน" อีกทั้งในการชกพูนสวัสดิ์ก็ทำให้ดั้งจมูกของดันน์แตกเป็นแผลฉกรรจ์ได้
 
เมื่อได้แชมป์โลกมาแล้ว พูนสวัสดิ์มีท่าทางว่าจะสามารถป้องกันแชมป์ได้อย่างยาวนาน เพราะเป็นนักมวยหมัดหนัก ฝีมือดี แต่ในการป้องกันตำแหน่ง 3 ที่[[ประเทศญี่ปุ่น]] กับ [[รี รย็อล-รี]] นักมวยชาวเกาหลีเหนือสัญชาติญี่ปุ่น รี รย็อล-รี ใช้รูปแบบการชกที่ตีหัวเข้าบ้าน ด้วยการเข้าชกแล้วหนี พูนสวัสดิ์พยายามไล่ตามแต่ไม่ทัน ครบ 12 ยก ก็เสียแชมป์โลกไปเมื่อเป็นฝ่ายแพ้คะแนนอย่างเป็นเอกฉันท์ เมื่อปี [[พ.ศ. 2553]]
 
จากนั้นพูนสวัสดิ์ก็ยังคงชกเคลื่อนไหว ด้วยการกลับมาเป็นแชมป์ PABA ในรุ่นซูเปอร์แบนตั้มเวท จนกระทั่งในปลายปี [[พ.ศ. 2555]] พูนสวัสดิ์มีโอกาสชิงแชมป์โลกอีกครั้ง กับ [[Guillermo Rigondeaux|กิลเลอร์โมกิเยร์โม ริกอนเดอ๊อกซ์นโด]] นักมวยชาวคิวบา ผู้ไม่เคยแพ้หรือเสมอใคร เจ้าของเหรียญทองโอลิมปิก 2 สมัย (โอลิมปิก 2000, [[โอลิมปิกฤดูร้อน 2004|โอลิมปิก 2004]]) ซึ่งเป็นคู่ชิงชนะเลิศในรุ่นแบนตั้มเวทของ [[วรพจน์ เพชรขุ้ม]] ซึ่งกำหนดจะมีขึ้นที่[[Toyota Center|โตโยต้า เซนเตอร์]] เมือง[[ฮุสตันฮิวสตัน]] [[รัฐเท็กซัส]] [[สหรัฐอเมริกา]] ในเช้าวันที่ [[16 ธันวาคม]] ตามเวลาในประเทศไทย ร่วมรายการเดียวกับ [[โนนิโต โดแนร์]] นักมวยระดับซูเปอร์สตาร์ชาวฟิลิปปินส์ป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกด้วย พูนสวัสดิ์และคณะได้เดินทางไปถึงที่สถานที่ชกตั้งแต่วันที่ [[8 ธันวาคม]] แต่ทว่าผลการตรวจเลือดก่อนการชกจริงแค่วันเดียว ปรากฏว่าเลือดของพูนสวัสดิ์หลังจากการตรวจแล้วถึง 3 ครั้ง ปรากฏว่าเป็นเลือดบวก (เลือดติดเชื้อ[[โลหิตจาง]]และไวรัส[[ตับอักเสบ บี]]) ไม่อาจขึ้นชกได้ตามกฎของคณะกรรมาธิการมวยรัฐเท็กซัส ทำให้ต้องเดินทางกลับทันที ซึ่งทางพูนสวัสดิ์มีความผิดหวังเป็นอย่างมาก<ref>"ตะลึง 'พูนสวัสดิ์ อดชิงแชมป์โลก'" หน้า 19, [[เดลินิวส์]] ฉบับที่ 23,073: วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 1 ปีมะโรง</ref>
 
หลังจากนั้นไม่นาน พูนสวัสดิ์จึงต้องแขวนนวมไปในที่สุด<ref>[http://www.ryt9.com/s/iqry/1565790 พูนสวัสดิ์แขวนนวมแล้ว! หลังพบโรคธาลัสซีเมีย-ไวรัสตับอักเสบ บี]</ref>
 
ชีวิตส่วนตัว [[สมรส]]กับ นางเอื้อการย์ อุดมนา (พร) และมีบุตรสาวหนึ่งคน ชื่อ ธมลวรรรณ อุดมนา (ชื่อเล่น: พั๊นซ์)
 
==เกียรติประวัติ==