ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรเทวนาครี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33:
 
== หลักการเบื้องต้น ==
เช่นเดียวกับ[[ตระกูลอักษรพราหมี]]อื่นๆ หลักการเบื้องต้นของอักษรเทวนาครีคือ อักษรแต่ละตัวใช้แทนเสียง[[พยัญชนะ]]ซึ่งมีเสียง[[สระ]] ''a'' (อะ) {{IPA|[ə]}} อยู่ในตัว <ref name="Salomon">Salomon, Richard (2003), "Writing Systems of the Indo-Aryan Languages", in Cardona, George & Dhanesh Jain, ''The Indo-Aryan Languages'', Routledge, 67-103, ISBN 978-0-415-77294-5.</ref> ตัวอย่างเช่นอักษร क อ่านว่า ''ka'' (กะ) อักษรสองตัว कन อ่านว่า ''kan'' (กัน) อักษรสามตัว कनय อ่านว่า ''kanay'' (กะนัย)(ไม่ออกเสียงสระท้ายคำ ยกเว้นคำที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะครึ่งรูปผสม) เป็นต้น ส่วนเสียงสระอื่นๆ หรือการตัดเสียงสระทิ้ง จะต้องมีการดัดแปลงตัวพยัญชนะของมันเองดังนี้
* [[กลุ่มพยัญชนะ]] (consonant cluster) จะถูกเขียนเป็น[[อักษรรวม]] (ligature) เรียกว่า ''saṃyuktākṣara'' (สังยุกตากษะระ, สํยุกฺตากฺษร) (จาก สํยุกฺต + อกฺษร) ตัวอย่างเช่นอักษรสามตัว कनय ''kanaya'' (กะนะยะ) สามารถรวมได้เป็น क्नय ''knaya'' (กนะยะ, กฺนย), कन्य ''kanya'' (กันยะ, กนฺย), หรือ क्न्य ''knya'' (กนยะ, กฺนฺย)
* เสียงสระอื่นที่นอกเหนือจากเสียง ''a'' (อะ) จะเขียนเครื่องหมายเสริมลงบนพยัญชนะ เช่นจาก क ''ka'' (กะ) เราจะได้ के ''ke'' (เก), कु ''ku'' (กุ), की ''kī'' (กี), का ''kā'' (กา) เป็นต้น