ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทยถิ่นเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Piyagay hamton (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
PananP (คุย | ส่วนร่วม)
แก้อักษรธรรมผิดอักขระวิธี
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 134:
 
คำควบกล้ำในภาษาไทยถิ่นเหนือนั้น มี ๑๑ เสียงได้แก่
*/kw/ กว (ᨠᩅᨠ᩠ᩅ, ᨣ᩠ᩅ)
*/xw/ ขว, คว (ᨡᩅᨡ᩠ᩅ, ᨣᩅᨢ᩠ᩅ, ᨤ᩠ᩅ)
* /t͡ɕw/ จว (ᨧᩅᨧ᩠ᩅ)
* /ŋw/ งว (ᨦᩅᨦ᩠ᩅ)
* /sw/ ซว (ᨪᩅᨪ᩠ᩅ)
* /ɲw/ ญว (ᨬᩅᨿ᩠ᩅ)
* /tw/ ตว (ᨲᩅᨲ᩠ᩅ)
* /pʰw/ พว (ᨻᩅᨽ᩠ᩅ)
* /jw/ ยว (ᨿᩅᩀ᩠ᩅ)
* /lw/ ลว (ᩉᩅᩉ᩠ᩅ)
* /ʔw/ อว (ᩋᩅᩋ᩠ᩅ)
 
==== พยัญชนะสะกด ====
บรรทัด 198:
อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ
 
ᩋᩡ ᩋᩣ ᩋᩥ ᩋᩦ ᩋᩧ ᩋᩨ ᩋᩩ ᩋᩪ ᩋᩮᩡ ᩋᩮ ᩋᩯᩡ ᩋᩯ ᩋᩰᩡ ᩋᩰ ᩋᩰᩬᩡ ᩋᩬᩴ ᩋᩮᩬᩥᩡ ᩋᩮᩬᩥ
จะ จา จิ จี จึ จือ จุ จู เจะ เจ แจะ แจ โจะ โจ เจาะ จอ เจอะ เจอ
 
ᩡ ᩣ ᩥ ᩦ ᩧ ᩨ᩠ᩋ ᩩ ᩪ ᩮᩡ ᩮ ᩯᩡ ᩯ ᩰᩡ ᩰ ᩮᩣᩡ ᩠ᩋ ᩮ᩠ᩋᩡ ᩮ᩠ᩋ
 
==== สระประสม ====
อัวะ อัว เอียะ เอีย เอือะ เอือ
 
ᩋᩫ᩠ᩅᩡ ᩋᩫ᩠ᩅ ᩋᩮ᩠ᨿᩡ ᩋᩮ᩠ᨿ ᩋᩮᩬᩥᩋᩡ ᩋᩮᩬᩥᩋ
ᩢᩅᩡ ᩢᩅ ᩮᩦ᩠ᨿᩡ ᩮᩦ᩠ᨿ ᩮᩨ᩠ᩋ ᩮᩨ᩠ᩋ
 
เสียงสระเอือะ,เอือ จะไม่พบในบางท้องถิ่น คือในถิ่นล้านนาตะวันออก ได้แก่ จังหวัดแพร่, อุตรดิตถ์, น่าน, พะเยา และลำปาง โดยจะออกเสียงเป็นสระเอียะ,เอีย เช่น คำเมือง เป็น กำเมียง (มีเสียงเอือะ และเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป๊นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)
 
==== สระแทน ====
อำ ใอ ไอ เอา ฤ ฦ
 
ᩴᩣ ᩲ ᩱ ᩮᩣ ᩄ ᩂ
 
นอกจากนี้ยังมีสำเนียงแบบเมืองยองซึ่งพูดกันมากในจังหวัดลำพูน โดยจะไม่มีสระประสม สระอัว กลายเป็น โอ สระเอีย กลายเป็น เอ และสระเอือ กลายเป็น เออ เช่น เมือง เป็น เมิง, เกลือ เป็น เก๋อ, สวย เป็น โสย, หมี่เกี๊ยว เป็น หมี่เก๊ว เป็นต้น
เส้น 233 ⟶ 226:
!rowspan=2|เสียงวรรณยุกต์ !!colspan=4|ตัวอย่าง
|-
!อักษรไทย||อักษรธรรม||การถอดรหัสเสียง!!การออกเสียง!!ความหมายในภาษาไทย
|-
|เสียงจัตวา|| เหลา || ᩉᩮᩖᩢᩣ ||{{IPA|/lǎw/}}||{{IPA|[law˨˦]}}||''เหลา, ทำให้คม''
|-
|เสียงเอก|| เหล่า || ᩉᩮᩖᩢ᩵ᩣ ||{{IPA|/làw/}}||{{IPA|[law˨]}}||''เหล่า, ป่า''
|-
|เสียงตรีปลายโท|| เหล้า || ᩉᩮᩖᩢ᩶ᩣ ||{{IPA|/la᷇w/}}||{{IPA|[la̰w˥˧]}}||''เหล้า, เครื่องดืมมึนเมา''
|-
|เสียงสามัญ|| เลา || ᩃᩮᩢᩣ ||{{IPA|/lāw/}}||{{IPA|[law˦]}}||''งาม''
|-
|เสียงโท|| เล่า || ᩃᩮᩢ᩵ᩣ ||{{IPA|/lâw/}}||{{IPA|[law˥˩]}}||''เล่า, บอกเรื่อง''
|-
|เสียงตรี|| เล้า || ᩃᩮᩢᩢᩣ ||{{IPA|/láw/}}||{{IPA|[la̰w˦˥˦]}}||''เล้า, ที่กักไก่''
|}
 
เส้น 252 ⟶ 245:
!rowspan=2|เสียงวรรณยุกต์ !!colspan=4|ตัวอย่าง
|-
!อักษรไทย||อักษรธรรม||การถอดรหัสเสียง!!การออกเสียง!!ความหมายในภาษาไทย
|-
|เสียงจัตวา || หลัก || ᩉᩖᩢᨠ ||{{IPA|/lǎk/}}||{{IPA|[lak˨˦]}}||''เสาหลัก, หลักแหลม''
|-
|เสียงตรี|| ลัก || ᩃᩢ᩠ᨠ ||{{IPA|/lák/}}||{{IPA|[lak˦˥]}}||''ลักขโมย, แอบ''
|-
|เสียงเอก|| หลาก || ᩉᩖᩣ᩠ᨠ ||{{IPA|/làːk/}}||{{IPA|[laːk˨]}}||''หลากหลาย''
|-
|เสียงโท|| ลาก || ᩃᩣ᩠ᨠ ||{{IPA|/lâːk/}}||{{IPA|[laːk˥˩]}}||''ลาก, ดึง''
|}