ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูเอชเอฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ยูเอชเอฟ''' ({{Lang-en|UHF}}) เป็น[[คลื่นวิทยุ]][[ย่านความถี่]]สูงยิ่ง ({{Lang-en|Ultra-High Frequency}}) เริ่มมีขึ้นครั้งแรกใน[[สหรัฐอเมริกา]] ในปี พ.ศ. 2491
 
== UHF ยูเอชเอฟในการสื่อสาร ==
{{โครงส่วน}}
 
== UHF ยูเอชเอฟในวิทยุโทรทัศน์ ==
UHF ยูเอชเอฟเป็นคลื่นความถี่ที่ใช้คู่ขนานกับระบบ [[วีเอชเอฟ|VHF]] ของเครื่องส่งโทรทัศน์และเสาส่งสำหรับ[[โทรทัศน์ระบบอนาล็อกแอนะล็อก]] และอาจจะเป็นคลื่นความถี่ที่ถูกบังคับให้สำหรับการส่งสัญญาณ[[โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล|ทีวีดิจิทัล]] ซึ่งคาดว่าทั่วโลกจะต้องเปลี่ยนแปลงมาเป็นทีวี[[การเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัล|เปลี่ยนผ่าน]]ให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558
 
ในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ระบบ UHF ยูเอชเอฟมีช่วงเลขประจำช่องระหว่างช่อง 14 - 83 (470-890 MHz)
 
ส่วนใน[[ประเทศไทย]] มีช่องสัญญาณอยู่ที่ช่อง 21 - 69 แต่ในกรณีช่อง 21 - 25 และ 61 - 69 [[กรมไปรษณีย์โทรเลข]] (ปัจจุบันถูกเปลี่ยนมาเป็น สำนักงาน [[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ|กสทช.]]) ได้สงวนช่องสัญญาณไว้ดังกล่าว เพื่อใช้ในระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์มือถือ ระบบ Cellular Mobile System จึงทำให้ประเทศไทย สามารถใช้ช่องสัญญาณไว้ตั้งแต่ที่ 26 - 60 เพื่อออกอากาศส่งทางวิทยุโทรทัศน์เท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา สำนักงาน กสทช. ได้ทำการปรับเปลี่ยนการใช้งานระบบ UHF ยูเอชเอฟสำหรับการออกอากาศโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอลดิจิทัล โดยให้ดำเนินการออกอากาศโดยปรับลดไปยังช่องความถี่ที่ต่ำลงกว่าเดิมนับตั้งแต่ คือช่องที่ 21 - 48 ทั้งนี้ เนื่องจากจะต้องนำคลื่นความถี่ 700 MHz เป็นต้นไป ไปจัดสรรและมอบให้แก่ผู้ประกอบกิจการ[[โทรคมนาคม]]รายต่าง ๆ เพื่อให้นำไปใช้และให้บริการเครือข่ายการสื่อสารระบบ [[5 จี|5G]] ซึ่งจะได้มีการเริ่มทดลองและให้บริการจริงตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2563
 
=== ตัวอย่างการใช้ระบบ UHF ยูเอชเอฟในประเทศไทย ===
[[สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี]] (สปน.) เริ่มดำเนินโครงการ [[สถานีโทรทัศน์]]ระบบ UHF ยูเอชเอฟเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยมีการเปิดประมูลรับสัมปทาน เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2538 โดย กลุ่มสยามทีวีแอนด์คอมมิวนิเคชั่น (แปรรูปเป็น บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด เมื่อได้รับอนุมัติสัมปทานแล้ว และเปลี่ยนชื่อเป็น [[บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน)]] เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541) เป็นผู้ได้รับอนุมัติสัมปทานดังกล่าว โดยใช้ชื่อสถานีว่า '''[[สถานีโทรทัศน์ไอทีวี]]''' นับเป็นสถานีโทรทัศน์ระบบ UHF ยูเอชเอฟแห่งแรกของประเทศไทย ออกอากาศทางช่อง 26 และเปลี่ยนมาเป็นช่อง 29 ในภายหลัง โดยมีอายุสัมปทาน 30 ปี เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''[[สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี]]''' ในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2550 และ '''[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]]''' ตามลำดับในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551
 
ราวปลายปี พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กกช.) ในขณะนั้น อนุมัติให้จัดสรรคลื่นความถี่ในระบบ UHF ยูเอชเอฟแก่[[ช่อง 3 เอชดี|'''สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3''']] เพื่อใช้ออกอากาศทดแทนคลื่นความถี่เดิม ([[วีเอชเอฟ|VHF]] ย่านความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3) เป็นจำนวน 5 ช่องสัญญาณ โดย[[ช่อง 3 เอชดี|ช่อง 3]] ได้ทำการออกอากาศในระบบ UHF ทางช่อง 32 ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2548 เวลา 09:39 น. โดยได้ยุติการออกอากาศในระบบ VHF ความถี่ต่ำเป็นการถาวรในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 และได้จากนั้นช่อง 3 ก็กลายเป็นสถานีโทรทัศน์ช่องเดียวที่ออกอากาศในระบบ UHF ทางช่อง 32 จนกระทั่งยุติการออกอากาศในระบบแอนะล็อกในความถี่ UHF ยูเอชเอฟเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 เวลา 00:01 น.
 
== ดูเพิ่ม ==