ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ans (คุย | ส่วนร่วม)
:cat key
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 27:
| colours = [[สีชมพู]] <span style="color:#ff5689">██</span> - [[สีเหลือง]] <span style="color:#ffd700">██</span>
| website = [http://www.mwbb.ac.th www.mwbb.ac.th]
| นักเรียน = 1,193441 คน (ปีการศึกษา 2563)
| footnote =
}}
บรรทัด 40:
[[ไฟล์:ภาพถ่ายเก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง.JPG|right|thumb|300px|ภาพถ่ายเก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน]]
[[ไฟล์:หน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง121.jpg|right|thumb|300px|ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ]]
'''โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร''' (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณ[[วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม]] [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็น[[โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร]]ที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย ([[โรงเรียนชายล้วน]]) <ref> http://www.watbencha.com/history/school.html ปัจจุบันทางการได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร" เปิดสอนเฉพาะ[[นักเรียนชาย]] </ref> ตามพระราชดำริของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร.ศ. 119 (พ.ศ. 2443) พระองค์ทรงกำหนดหลักสูตรแนวการสอนด้วยพระองค์เอง และเปิดสอนตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2444 มีนักเรียน 40 คน เป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์โดยตรงไม่ขึ้นตรงต่อกระทรวงธรรมการสมัยนั้น หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และ[[เสนาบดีกระทรวงธรรมการ]] ร่วมกันวางแผนปรับปรุงโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่สำคัญยิ่งก็คือ พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างอาคารถาวรเป็นตึกทรงยุโรป[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก|สถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic]] และทรงห่วงใยในเรื่องการก่อสร้างเป็นอย่างยิ่ง แม้ในสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ต้องได้รับพระราชทาน บรมราชานุญาตทุกอย่าง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรปัจจุบันเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปัจจุบันเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก
 
== ประวัติ ==