ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระจกนาฬิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Superpes15 (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 110.164.158.74 (talk) to last version by Geonuch: unexplained content removal
บรรทัด 11:
[[ไฟล์:Watch_glass.JPG|thumb|ผลึกของแข็งบนกระจกนาฬิกาซึ่งมีกระดาษที่ถูกพับวางไว้ด้านบนเพื่อป้องกันการปนเปื้อน]]
[[ไฟล์:Watch_glass_and_funnel.JPG|thumb|การตากแห้งของผลึกโดยใช้กระจกนาฬิกาและอากาศแห้งจากกรวยที่กลับหัว]]
จากที่กล่าวไว้ข้างต้น กระจกนาฬิกาถูกใช้เป็นฝาปิดบีกเกอร์อยู่บ่อยครั้ง โดยกระจกนาฬิกาถูกวางไว้บนภาชนะทำให้ควบคุมและเปลี่ยนแปลงสภาวะอิ่มตัวของไอน้ำได้ง่ายขึ้น<ref>{{Cite web|last1 = Helmenstine|first1 = Anne Marie|title = Watch Glass - Photo|url = http://chemistry.about.com/od/chemistrylabexperiments/ig/Chemistry-Laboratory-Glassware/Watch-Glass.htm|website = About|accessdate = 28 June 2015|website=About}}</ref> นอกจากนี้กระจกนาฬิกายังใช้เพื่อใส่ของแข็งเวลาชั่งบนตราชั่ง ก่อนการชั่งของแข็งกระจกนาฬิกาจะถูกนำไปชั่งก่อน ตามด้วยการกดปรับให้ตราชั่งเป็นศูนย์ จากนั้นค่อยใส่สสารที่ต้องการช่างลงไปบนกระจกนาฬิกาเพื่อให้ได้น้ำหนักตามต้องการ โดยตราชั่งจะแสดงน้ำหนักของสสารตัวอย่าง<ref>{{Cite web|last1 = Jones|first1 = Chad|title = Chemistry Lab Equipment: Watch Glass|url = http://chem.answers.com/chemistry-basics/chemistry-lab-equipment-watch-glass|website = Answers|accessdate = 28 June 2015|website=Answers}}</ref>
 
นอกจากนี้กระจกนาฬิกายังใช้สำหรับการตากสสาร โดยเมื่อสสารนั้นถูกแยกจากตัวทำละลายแล้วจะถูกเกลี่ยลงบนกระจกนาฬิกา และบางครั้ง[[กระดาษกรอง]] ยังถูกพับแล้ววางไว้ด้านบนเพื่อป้องกันละอองบนอากาศไม่ให้ตกลงบนสสารที่ได้
 
เพื่อเร่งเวลาในการตาก กระจกนาฬิกาสามารถถูกนำไปวางใน[[ตู้ดูดควัน]] (fume hood) เพื่อเพิ่มการถ่ายเทของอากาศ<ref>{{Cite book|last1 = Lehman|first1 = John W.|title = The Student's Lab Companion: Laboratory Techniques for Organic Chemistry|date = 2008|publisher = Prentice Hall|isbn = 9780131593817|pages = 156–157|edition = 2nd}}</ref>
 
== อ้างอิง =={{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:อุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ]]