ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามตีเมืองทวาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
สงครามพม่าตีเมืองทวาย พ.ศ. 2336
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
การรบที่เมืองมะริด
บรรทัด 92:
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)|พระยายมราช (บุนนาค)]]
|strength1 = 50,000
|strength2 = 5040,000
}}
=== การจัดเตรียมทัพ ===
ฝ่ายสยามได้ครอบครองเมืองทวายและมะริดตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯมีพระราชดำริที่จะยกทัพล่วงต่อจากเมืองทวายไปยังเขตแดนเมืองพม่าตอนล่าง<ref name=":1" /> เมืองเมาะตะมะเมืองย่างกุ้ง และไปจนถึงเมืองอังวะหากว่าสามารถทำได้<ref name=":1" /> โดยมีเมืองทวายเป็นฐานที่มั่น ทรงปรึกษากับ[[เจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี)]] และพระยาไทรโยคถึงเส้นทางและระยะทางจากเมืองกาญจนบุรีไปจนถึงเมืองหงสาวดี จากนั้นมีพระราชโองการให้จัดเตรียมฝ่ายไทยจำนวนทั้งสิ้น 5040,000 คน<ref name=":01" /> กำหนดไปตีเมืองพม่าในเดือนพฤศจิกายนพ.ศ. 2336 ดังนี้;
 
* พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ เสด็จยกทัพบกจากเมืองทวาย โดยมีพระราชโองการให้เจ้าพระยารัตนพิพิธ (สน) และเจ้าพระยามหาเสนา (ปลี) ยกทัพจากกรุงเทพฯไปสมทบกับพระยายมราช (บุนนาค) ที่เมืองทวายก่อน
* กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทฯ เสด็จไปต่อเรือที่เมืองสิงขร (Theinkun [[เขตตะนาวศรี]]ในปัจจุบัน) และยกทัพเรือจากเมืองมะริด เพื่อไปสมบทกับทัพหลวงที่เมืองทวาย จากนั้นจึงยกทัพเรือเคียงข้างทัพหลวงซึ่งเป็นทัพบกไปจนถึงพม่า กรมพระราชวังบวรฯมีพระราชบัณฑูรให้พระยากลาโหมราชเสนาไปเกณฑ์ไพร่พลจากกัมพูชา และพระยาไกรโกษา (ฤกษ์) ไปเกณฑ์ไพร่พลจากหัวเมืองลาว
*[[เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น)|พระยาพลเทพ (ปิ่น)]] และ[[เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (ทองดี)|พระยาธรรมาธิกรณ์ (ทองดี)]] เป็นผู้รักษาพระนครฯ
 
ฝ่ายพม่าพระเจ้าปดุงมีพระราชโองการให้เจ้าชายอินแซะมหาอุปราชพระโอรสจัดเตรียมทัพเพื่อยกมาโจมตียึดเมืองทวายคืน จำนวนคนทั้งสิ้น 50,000 คน ประกอบด้วย ทัพเรือสี่ทัพ ทัพบกสองทัพ ได้แก่<ref name=":0" />;
เส้น 121 ⟶ 122:
ทัพเรือที่ 2 ของเนเมียวคุณะจอสู จำนวน 10,000 คน มาถึงปากแม่น้ำเมืองทวาย พบกับทัพเรือฝ่ายไทยที่รักษาปากแม่น้ำอยู่จึงต่อสู้กัน ทัพเรือฝ่ายไทยมีกำลังน้อยกว่าจึงถอยไป<ref name=":0" /> ทัพเรือพม่าจึงเดินทัพเข้ามาในแม่น้ำทวาย มาขึ้นบกตั้งทัพที่ชานเมืองทวาย ทัพของเนเมียวคุณะจอสูตั้งที่เกาะหงษ์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองทวาย ทัพที่ 3 ของหวุ่นยีสิงคยา และทัพที่ 4 ของพละรัตนะจอดิน จำนวนทัพละ 10,000 คน มาตั้งที่ตำบลกินมะยาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวาย ทัพบกของเมียวจอดินสีหะสุระมาตั้งที่ตำบลกะยอทางเหนือ
 
ฝ่ายทางเมืองทวาย ชาวเมืองทวายซึ่งถูกเกณฑ์ไปรบในฝ่ายไทยเมื่อทราบว่าทัพพม่าเข้าประชิดเมืองทางด้านตะวันตก จึงเริ่มต่อต้านกรมการเมืองของฝ่ายไทย<ref name=":1" /> ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2336 ชาวทวายเจ็ดคนมีหนังสือลับไปหาฝ่ายพม่า<ref name=":0" /> ฝ่ายไทยทราบว่าเกิดไส้ศึกขึ้นในเมืองทวาย จึงจับตัวชาวทวายทั้งเจ็ดคนไปประหารชีวิต ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯเสด็จยกทัพมาตั้งทัพหลวงที่แม่น้ำแควน้อยแขวงเมืองไทรโยค จากนั้นจึงเสด็จยกทัพมายังเมืองทวายทางด่านคะมองส่วย ไปประทัพบกของเนเมียวจอดินสีหะสุระยกเข้าตีทัพของเจ้าพระยามหาเสนาทางทิศตะวันออกของเมืองทวาย<ref name=":0" /> พระยากาญจนบุรีออกรับทัพพม่า ถูกปืนเสียชีวิตในที่รบตำบลหินดาด ซึ่งอยู่ห่างจากนั้นเนเมียวจอดินจึงตีค่ายของพระยาสีหราชเดโชแตกพ่ายอีก ทัพพม่าเข้าประชิดเมืองทวายเป็นระยะทางทิศตะวันตกและทิศเหนือ<ref name=":0" /> แต่ฝ่ายไทยในเมืองทวายสามารถต้านทานไว้ได้สองคืน
 
ทัพบกของเนเมียวจอดินสีหะสุระยกเข้าตีทัพของเจ้าพระยามหาเสนาทางทิศตะวันออกของเมืองทวาย<ref name=":0" /> พระยากาญจนบุรีออกรับทัพพม่า ถูกปืนเสียชีวิตในที่รบ จากนั้นเนเมียวจอดินจึงตีค่ายของพระยาสีหราชเดโชแตกพ่ายอีก ทัพพม่าเข้าประชิดเมืองทวายทางทิศตะวันตกและทิศเหนือ<ref name=":0" /> แต่ฝ่ายไทยในเมืองทวายสามารถต้านทานไว้ได้
ฝ่ายไทยประสบปัญหาขาดแคลนเสบียงและแรงงาน<ref name=":1" /> เนื่องจากเสบียงนั้นต้องขนส่งข้ามเทือกเขาตะนาวศรีและแรงงานชายถูกเกณฑ์ไปรบ ต้องให้แรงงานหญิงชาวเมืองทวายมาขนเสบียงแทน ฝ่ายชาวเมืองทวายเห็นฝ่ายไทยเกณฑ์คนไปขนเสบียง เข้าใจว่าฝ่ายไทยกำลังจะกวาดต้อนชาวเมืองทวายไปอยู่กาญจนบุรี จึงไม่ทำตามคำสั่ง เจ้าพระยามหาเสนามีคำสั่งให้นำตัวหวุ่นทอก ชาวเมืองทวายผู้นำในการต่อต้านไปลงโทษด้วยการเฆี่ยน<ref name=":1" /> หวุ่นทอกจึงปลุกระดมชาวเมืองทวายให้ลุกฮือเป็นกบฏขึ้นต่อต้านการปกครองของฝ่ายไทยในเดือนมกราคม พ.ศ. 2337 สังหารกรมการเมืองฝ่ายไทยในเมืองทวาย และนำปืนใหญ่เข้ายิงใส่โจมตีทัพของฝ่ายไทยทางทิศตะวันออก กองทัพฝ่ายไทยที่ยังเหลือในเมืองทวายจึงถอยทัพออกมาทางตะวันออก ทัพพม่าจึงยกทัพติดตามมาเข้าโจมตีทัพของเจ้าพระยารัตนาพิพิธและเจ้าพระยามหาเสนาทางตะวันออกของเมืองทวายอย่างหนัก
 
ฝ่ายไทยประสบปัญหาขาดแคลนเสบียงและแรงงาน<ref name=":1" /> เนื่องจากเสบียงนั้นต้องขนส่งข้ามเทือกเขาตะนาวศรีและแรงงานชายถูกเกณฑ์ไปรบ ต้องให้แรงงานหญิงชาวเมืองทวายมาขนเสบียงแทน ฝ่ายชาวเมืองทวายเห็นฝ่ายไทยเกณฑ์คนไปขนเสบียง เข้าใจว่าฝ่ายไทยกำลังจะกวาดต้อนชาวเมืองทวายไปอยู่กาญจนบุรี จึงไม่ทำตามคำสั่ง เจ้าพระยามหาเสนามีคำสั่งให้นำตัวหวุ่นทอก ชาวเมืองทวายผู้นำในการต่อต้านไปลงโทษด้วยการเฆี่ยน<ref name=":1" /> หวุ่นทอกจึงปลุกระดมชาวเมืองทวายให้ลุกฮือเป็นกบฏขึ้นต่อต้านการปกครองของฝ่ายไทยในเดือนมกราคม พ.ศ. 2337 สังหารกรมการเมืองฝ่ายไทยในเมืองทวาย และนำปืนใหญ่เข้ายิงใส่โจมตีทัพของฝ่ายไทยทางทิศตะวันออก กองทัพฝ่ายไทยที่ยังเหลือในเมืองทวายจึงถอยทัพออกมาทางตะวันออก ทัพพม่าจึงยกทัพติดตามมาเข้าโจมตีทัพของเจ้าพระยารัตนาพิพิธและเจ้าพระยามหาเสนาทางตะวันออกของเมืองทวายอย่างหนัก
เสนาบดีทั้งสามได้แก่ เจ้าพระยารัตนาพิพิธ เจ้าพระยามหาเสนา และพระยายมราช ไม่สามารถต้านทานทัพพม่าได้อีกต่อไป ถึงถอยทัพมาทางทิศตะวันออกไปยังค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์ ซึ่งเป็นทัพหน้าของทัพหลวง เสนาบดีทั้งสามขอเข้าไปตั้งหลักสู้กับพม่าในค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์ แต่พระอภัยรณฤทธิ์ปฏิเสธให้เหตุผลว่าหากทัพพม่ายกติดตามเสนาบดีทั้งสามเข้ามาในค่ายและทัพหน้าของพระอภัยรณฤทธิ์แตกพ่ายไปทัพหลวงจะได้รับอันตราย<ref name=":1" /> เสนาบดีทั้งสามจึงตั้งรับทัพพม่าอยู่หน้าค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์ ต้านทานพม่าไม่ได้จึงแตกพ่ายไป เจ้าพระยารัตนาพิพิธและพระยายมราชสามารถรอดมาได้ แต่พระยามหาเสนา (ปลี) สูญหายในที่รบ พงศาวดารพม่าว่าถูกสังหารถึงแก่อสัญกรรมในที่รบ<ref name=":0" /> พระยาสีหราชเดโชเสียชีวิตในที่รบเช่นกัน เมื่อทัพของเสนาบดีทั้งสามแตกพ่ายไปแล้ว ทัพพม่าจึงเข้าโจมตีค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์แตกพ่ายไปเช่นกัน
 
เสนาบดีทั้งสามได้แก่ เจ้าพระยารัตนาพิพิธ เจ้าพระยามหาเสนา และพระยายมราช ไม่สามารถต้านทานทัพพม่าได้อีกต่อไป ถึงถอยทัพมาทางทิศตะวันออกไปยังค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์ ซึ่งเป็นทัพหน้าของทัพหลวง เสนาบดีทั้งสามขอเข้าไปตั้งหลักสู้กับพม่าในค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์ แต่พระอภัยรณฤทธิ์ปฏิเสธให้เหตุผลว่าหากทัพพม่ายกติดตามเสนาบดีทั้งสามเข้ามาในค่ายและทัพหน้าของพระอภัยรณฤทธิ์แตกพ่ายไปทัพหลวงจะได้รับอันตราย<ref name=":1" /> เสนาบดีทั้งสามจึงตั้งรับทัพพม่าอยู่หน้าค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์ ต้านทานพม่าไม่ได้จึงแตกพ่ายไป เจ้าพระยารัตนาพิพิธและพระยายมราชสามารถรอดมาได้ แต่พระยามหาเสนา (ปลี) สูญหายในที่รบ พงศาวดารพม่าว่าถูกสังหารถึงแก่อสัญกรรมในที่รบ<ref name=":0" /> พระยาสีหราชเดโชเสียชีวิตในที่รบเช่นกัน เมื่อทัพของเสนาบดีทั้งสามแตกพ่ายไปแล้ว ทัพพม่าจึงเข้าโจมตีค่ายของพระอภัยรณฤทธิ์แตกพ่ายไปเช่นกัน ฝ่ายไทยสูญเสียกำลังพลไปมาก ฝ่ายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯซึ่งประทับที่ตำบลหินดาด เมื่อทรงทราบว่าทัพหน้าพ่ายแพ้แก่พม่าถอยมาแล้ว จึงมีพระราชโองการให้ถอยทัพหลวงกลับไปประทับยังแม่น้ำแควน้อย
 
=== การรบที่เมืองมะริด ===
กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาททรงต่อเรืออยู่ที่เมืองสิงขร แล้วจึงเสด็จยกทัพเรือพร้อมกับ[[พระยาจ่าแสนยากร (ทุเรียน)]] พระยาไกรโกษา พระยาพิไชยบุรินทรา และ[[พระยาพัทลุง (ทองขาว)|พระยาแก้วเการพ (ทองขาว)]] เจ้าเมืองพัทลุง เสด็จยกทัพเรือส่วนหนึ่งไปส่งไว้ป้องกันปากแม่น้ำเมืองทวาย (ซึ่งถูกทัพเรือพม่าตีพ่ายไปข้างต้น) แล้วจึงยกทัพเรือเสด็จกลับมาประทับที่เมือง[[อำเภอกระบุรี|กระบุรี]] (เป็นส่วนหนึ่งของแขวงเมืองชุมพร) จากนั้นมีพระราชบัณฑุรให้พระยาจ่าแสนยากร พระยาไกรโกษา พระยาพิไชยบุรินทรา และพระยาแก้วเการพ ยกทัพเรือล่วงหน้าไปยังเมืองทวายก่อน เมื่อพระยาจ่าแสนยากรยกทัพเรือไปจนถึงเมืองมะริด ในขณะนั้นฝ่ายพม่าสามารถยึดเมืองทวายได้แล้วเจ้าเมืองมะริดจึงแปรพักตร์กลับไปเข้ากับฝ่ายพม่า พระยาจ่าแสนยากรเมื่อทราบข่าวว่าเมืองมะริดกลับไปเข้ากับฝ่ายพม่าแล้วจึงนำทัพเรือเข้าโจมตีเมืองมะริด ระดมยึงปืนใหญ่ใส่เมืองมะริดแต่ยังไม่สามารถยึดเมืองได้ พระยาจ่าแสนยากรจึงนำทัพเรือเทียบท่าที่เกาะหน้าเมืองมะริด ใช้ปืนใหญ่ระดมยิงใส่เมืองมะริดในระยะที่ใกล้กว่าเดิม ทำให้ทหารเมืองมะริดต้องขุดหลุมเพื่อหลบกระสุนปืนใหญ่ของฝ่ายไทย แม้กระนั้นฝ่ายไทยก็ยังไม่สามารถเข้ายึดเมืองมะริดได้
 
ในเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯซึ่งประทับที่แม่น้ำแควน้อย มีพระราชโองการให้นายฉิมมหาดเล็กชาวเมืองชุมพร เดินทางไปเข้าเฝ้ากรมพระราชวังบวรฯที่เมืองกระบุรี กราบทูลว่าทัพหลวงที่เมืองทวายพ่ายแพ้ให้แก่พม่าแล้ว การยกทัพเข้ารุกรานพม่าไม่สามารถดำเนินต่อไปได้ กรมพระราชวังบวรฯจึงมีพระราชบัณฑูรให้ทัพเรือที่เมืองมะริดถอยกลับ ขณะที่พระยาจ่าแสนยากรกำลังจะถอยทัพกลับนั้น ทัพพม่าจากเมืองทวายยกมาถึงเมืองมะริดพอดี นำไปสู่การสู้รบกัน ทัพไทยกลับขึ้นเรือถอยทัพเรือเอาท้ายลงมาที่เมืองปากจั่น ทัพพม่ายกทัพติดตามมา พระยาจ่าแสนยากรยกทัพขึ้นบกที่ปากจั่นพบกับทัพพม่าอีกสู้รบกัน ฝ่ายไทยต้องสละเรือพระยาจ่าแสนยากรนำทัพถอยกลับไปทางเมืองชุมพร ทัพพม่าติดตามสู้รบเป็นสามารถฝ่ายต้องรบไปถอยไป พระยาจ่าแสนยากร "''รบพม่าแข็งแรง พม่าหาอาจล่วงเกินเข้ามาได้ไม่''"<ref name=":1" /> เมื่อทัพพม่าถอยกลับไปแล้ว พระยาจ่าแสนยากรจึงยกทัพกลับทางเมืองชุมพร
 
=== บทสรุป ===
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯทรงพิโรธพระอภัยรณฤทธิ์ที่เป็นเหตุให้สูญเสียเสนาบดีสมุหกลาโหมไป จึงมีพระราชโองการลงพระราชอาญาให้ประหารชีวิตพระอภัยรณฤทธิ์เสียที่แม่น้ำแควน้อยนั้น<ref name=":1" /> จากนั้นจึงมีพระราชโองการไปยังพระยาพลเทพ (ปิ่น) และพระยาธรรมาธิกรณ์ (ทองดี) ที่พระนครฯให้ระวังชาวพม่า<ref name=":1" />ในเมืองกลุ่มของแมงจันจาอดีตเจ้าเมืองทวาย ต่อมาในภายหลังจึงทรงแต่งตั้งพระยายมราช (บุนนาค) ขึ้นเป็นเจ้าพระยามหาเสนา สมุหกลาโหม แทนที่เจ้าพระยามหาเสนา (ปลี) ซึ่งถึงแก่อสัญกรรมในที่รบ
 
== อ้างอิง ==