ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ม้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ES Geqias (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Hmongbot (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างขึ้นโดยการแปลหน้า "Hmong"
บรรทัด 1:
{{Infobox Ethnic group
|group = ม้ง
| name = ไฟล์:ม้งโบราณ|ม้งโบราณ รัฐ Yuunan
| image = [[ไฟล์:Hmong women at Coc Ly market, Sapa, Vietnam.jpg |200px]]
|population = 11.247 ล้านคน<ref name=Lemoine2005>{{citation
| last = Lemoine | first = Jacques
| year = 2005
| title = What is the actual number of the (H)mong in the world?
| journal = Hmong Studies Journal
| volume = 6
| url = http://www.hmongstudies.org/LemoineHSJ6.pdf}}</ref>
|region1 = {{flag|จีน}}
|pop1 = 9.426 ล้านคน
|ref1 =
|region2 = {{flag|เวียดนาม}}
|pop2 = 1,068,189 คน (2009)
|ref2 =
|region3 = {{flag|ลาว}}
|pop3 = 595,028 คน (2015)
|ref3 =
|region4 = {{flag|สหรัฐอเมริกา}}
|pop4 = 260,073 คน (2010)
|ref4 =
|region5 = {{flag|ไทย}}
|pop5 = 250,000 คน
|ref5 =
|region6 = {{flag|ฝรั่งเศส}}
|pop6 = 16,000 คน
|ref6 =
|region7 = {{flag|ออสเตรเลีย}}
|pop7 = 2,190<ref>[http://www.censusdata.abs.gov.au/ABSNavigation/download?format=xls&collection=Census&period=2006&productlabel=Ancestry%20(full%20classification%20list)%20by%20Sex&producttype=Census%20Tables&method=Place%20of%20Usual%20Residence&areacode=0 ABS Census - ethnicity]</ref>
|ref7
|region8 = {{flag|เฟรนช์เกียนา}}
|pop8 = 1,500
|ref8
|region9 = {{flag|แคนาดา}}
|pop9 = 800
|ref9
|region10 = {{flag|เยอรมนี}}
|pop10 = 700
|ref10
|languages = [[ภาษาม้ง|ม้ง]]
|religions = [[ชาแมน]], [[พระพุทธศาสนา]], [[คริสต์ศาสนา]], อื่น ๆ
|related =
}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Hmong|ม้ง}}
'''ม้ง''' ({{lang-en|Hmong}}) เป็น[[กลุ่มชาติพันธุ์]]ในภูเขาของ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ชาวม้งอพยพลงมาทางใต้ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากสถานการณ์ที่ไม่สงบทางการเมืองและหาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก ปัจจุบันมีชาวม้งอาศัยอยู่ใน[[ประเทศจีน]] [[ไทย]] [[เวียดนาม]] [[ลาว]] และ[[สหรัฐอเมริกา]] โดยชุมชนชาวม้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยอยู่ที่ตำบลเข็กน้อย [[อำเภอเขาค้อ]] [[จังหวัดเพชรบูรณ์]]<ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=WMhV0bul9vw|title=คิดเช่น Gen D 08 12 60|date=2017-12-08|accessdate=2017-12-09|work=[[ฟ้าวันใหม่]]}}</ref>
 
'''ม้ง''' อาจอ้างถึง:
สำหรับในประเทศไทยคำว่า "แม้ว" เป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพในการเรียกกลุ่มคนม้ง ชาวม้งโดยส่วนใหญ่ไม่ชอบให้เรียกว่าแม้ว โดยถือว่าเป็นการดูถูกเหยียดหยาม{{อ้างอิง}}
 
* [[ม้ง|ชาวม้ง]] ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่อาศัยอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เวียดนามลาวและไทย) และจีนตอนใต้
ระหว่าง[[สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง]]และ[[สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง]] ชาวม้งใน[[ลาว]]ได้ต่อสู้ขบวนการ[[ปะเทดลาว]] ชาวม้งหลายคนอพยพมา[[ประเทศไทย]] และ[[ชาติตะวันตก]]{{อ้างอิง}}
* [[อาหารม้ง]]
* ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวม้ง
** เพลงม้ง
** ศิลปะสิ่งทอม้ง
* [[ภาษาม้ง]] ความต่อเนื่องของภาษา / ภาษาถิ่นที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด
** [[ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน|ภาษาม้ง - เมี่ยน]]
** sds ซึ่งเป็นสคริปต์กึ่งพยางค์พื้นเมือง
** Nyiakeng Puachue Hmong ตัวอักษรสมัยใหม่
* ชาวอเมริกันเชื้อสายม้งชาว อเมริกันเชื้อสายม้ง
 
== ดูสิ่งนี้ด้วย ==
==ประวัติศาสตร์==
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
[[ไฟล์:Hmong diaspora.png|thumb|250px|ประวัติศาสตร์การอพยพของชาวม้ง]]
 
* [[ศาสนาพื้นเมืองม้ง|ศาสนาพื้นบ้านม้ง]]
ดร.ลิ ติ่ง กุย (Dr.Li Ting Gui) อ้างโดยเลอภพ (2536) ได้สรุปว่าการอพยพครั้งใหญ่ๆในอดีตของชนชาติม้งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีอยู่ทั้งสิ้น 4 ครั้งด้วยกันคือ
* ม้งในวิสคอนซิน
 
** ม้ง American Peace Academy
ครั้งที่ 1 อพยพออกจากบริเวณทางใต้ของสองฝั่งแม่น้ำเหลืองหรือแม่น้ำฮวงโห (Southern Poition of the Yellow River)
* ''วารสารม้งศึกษา''
[[ไฟล์:KingChiyou.GIF|thumb|กษัตริย์ “ชิยู” ([[Chiyou]])]]
* ฮง (disambiguation)
ราวๆ 5,000 ปีที่ผ่านมา ม้งได้อาศัยอยู่ 2 ฝั่งทางตอนใต้ของแม่น้ำเหลือง ในขณะนั้นม้งมีชื่เรียกว่า จู่ลี่ (Tyuj Liv) ชนกลุ่มจู่ลี่นี้เป็นชนกลุ่มแรกที่รู้จักใช้ทองสัมฤทธิ์(Brouze) รู้จักปลูกข้าว และการเลี้ยงปลาในนาข้าว ประชากรทุกคนมีความผาสุขภายใต้การปกครองของกษัตริย์ “ชิยู” ([https://en.wikipedia.org/wiki/Chiyou Chiyou]) ในขณะเดียวกันได้มีชนกลุ่มหนึ่งคือ “[[ชาวฮั่น]]” (Huaj) ได้อพยพมาจากทางทิศตะวันตกเข้ามาอยู่ในบริเวณของชนชาติจู่ลี่ ผู้นำของชนกลุ่มฮั่นคือ ฮั่นหย่า (Hran Yuan) ทั้งสองกลุ่มนี้อยู่ด้วยกันไม่นานเกิดความขัดแย้งกันจนถึงขั้นสู้รบกัน ผลสุดท้ายชนชาติจู่ลี่พ่ายแพ้แก่ชนชาติฮั่น ทั้งนี้เพราะชนชาติฮั่นมีประชากรเยอะกว่า ในขณะที่ชนชาติจู่ลี่เป็นเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา จึงได้ถอยร่นลงมาทางใต้ใกล้กับแม่น้ำแยงซี (Tangrse River)
* ชาวแม้ว
 
* มง (disambiguation) 
ครั้งที่ 2 อพยพออกจากบริเวณปกครองม้ง ([https://en.wikipedia.org/wiki/Miao_people San Miao])
 
หลังจากที่ชาวจู่ลี่ได้อพยพลงมาทางตอนใต้ ได้มีการรวมกับชนพื้นเมือง “ซานเมียว” ([https://en.wikipedia.org/wiki/Miao_people San Miao]) ขึ้น ชาวม้งและชนพื้นเมืองมีความรักใคร่อย่างแน่นแฟ้น ชาวม้งจึงเรียกกลุ่มนี้ว่า “[[จีน]]”(Suay) แต่กลุ่มฮั่นยังคงติดตามมารุกรานคอยทำร้ายฆ่าฟันชาวม้งหรือจู่ลี่อยู่เรื่อยๆ ชาวม้งจึงได้แตกออกเป็น 3 กลุ่ม หนีลงทางใต้ ในปัจจุบันนี้คือ มณฑลกวางสี (Guang – ti) มณฑลกวางโจและมณฑลยูนาน ([https://en.wikipedia.org/wiki/Yunnan Yunnan]) อีกส่วนหนึ่งหนีร่นลงมาทางตะวันตกมุ่งหน้าไปยังซานเหวย (San Wei) ซึ่งกลับกับประเทศมองโกเลีย และตอนหลังก็ได้อพยพลงมาอยู่ในมณฑลยูนาน ([https://en.wikipedia.org/wiki/Yunnan Yunnan])
 
ครั้งที่ 3 อพยพออกจากการปกครองของกษัตริย์จู ([https://en.wikipedia.org/wiki/Wen_Chou Chou Kingdom/Chou State])
 
ประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาลประชาชนได้แก่กลุ่มชน 7 กลุ่ม ซึ่งแยกตัวเองออกเป็นประเทศปกครองและในจำนวน 1 ใน 7 ประเทศเหล่านั้น มีม้งเป็นประเทศหนึ่ง มีกษัตริย์ชื่อว่า “จู” ซึ่งมีอยู่สองคนในตระกูลซังหรือแซ่โซ้ง คนที่หนึ่งชื่อ “ชงยี่” คนที่สองชื่อ “ซงจี” ปีค.ศ. 221 ได้มีชนกลุ่มชิน (Chin) ได้เข้ามาต่อสู้แย่งชิงประเทศของกษัตริย์จูจนพ่ายแพ้ ชาวม้งได้แตกระส่ำระสายไปตามที่ต่างๆ มีกลุ่มหนึ่งลุกขึ้นต่อสู้ อีกกลุ่มหนึ่งถอยร่นลงไปอยู่กับกลุ่มม้งในมณฑลกวางโจ เสฉวน และมณฑลยูนาน ต่อมาในปี ค.ศ. 1640 – 1919 ได้มีชาวม้งกลุ่มหนึ่งอพยพลงมาอยู่ในกลุ่มประเทศอินโดจีน(Indochina) ทางตอนใต้ของจีนซึ่งก็ได้แก่กลุ่มประเทศ[[เวียดนาม]] [[ลาว]] และ[[ไทย]]
 
ครั้งที่ 4 ค.ศ. 1970 – 1975 การอพยพออกจากประเทศลาว
 
ระบบการปกครองคอมมิวนิสต์ได้แผ่ขยายสู่กลุ่มประเทศอินโดจีน ทำให้กลุ่มม้งในลาวต้องแตกกระจายไปทั่วโลก การอพยพของชนชาติม้งในครั้งนี้นับได้ว่ามากที่สุดและอพยพไปไกลที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร์ของชนชาติม้ง ชาวม้งมากมายได้อพยพย้ายไปอาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา อาร์เจนตินา ฝรั่งเศส และอิตาลี
 
การอพยพเข้าสู่ประเทศไทย
 
ชนชาติม้งกลุ่มแรกที่อพยพเข้าสู่ประเทศไทยนั้นไม่มีหลักฐานใดๆบ่งชี้ได้ชัดเจนแต่จากเอกสารของสถาบ้นวิจัยชาวเขาคาดว่าเริ่มต้นอพยพเข้ามาทางตอนเหนือของประเทศไทย ในราวปี พ.ศ. 2387 – 2417 จุดที่ชนเผ่าม้งเข้ามามีอยู่ด้วยกัน 3 จุดคือ
 
1.1 เข้ามาทางห้วยทราย – เชียงของ อำเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือสุด เป็นจุดที่เข้ามาก่อน และเข้ามามากที่สุด หลังจากนั้นแยกย้ากระจัดกระจายไปตามแนวทองของเส้นเขามุ่งไปทางทิศตะวันตกสู่จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตากและสุโขทัย
 
1.2 เข้ามาทางไชยบุรี ปัว และทุ่งช้าง เขตอำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน แล้วบางกลุ่มได้อพยพลงสู่ทางใต้และทางตะวันตกเข้าสู่จังหวัดแพร่ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร และจังหวัดตาก
 
1.3 เข้าทางภูคา – นาแห้ว และด่านซ้าย อำเภอนาแห้ว และอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย แล้วบางกลุ่มได้เข้ามาสู่จังหวัดเพชรบูรณ์ในที่สุด (สุนทรี, 2524 : อ้างโดยประสิทธิ์, 2531)
 
นอกจากทั้งสามจุดนี้แล้ว จุดหนึ่งที่ชาวม้งได้อพยพผ่านมาแต่ไม่มีใครกล่าวถึงคือ เข้ามาทางอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยผ่านมาทางประเทศพม่า ช่องดอยอ่างขาง ซึ่งเป็นที่กล่าวขันกันว่า ม้งกลุ่มนี้คือกลุ่มที่หลงทางจากการอพยพจากจุดที่ 1
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==หนังสืออ่านเพิ่มเติม==
{{refbegin}}
* Edkins, ''The Miau-tsi Tribes''. Foochow: 1870.
* Henry, ''Lingnam''. London: 1886.
* Bourne, ''Journey in Southwest China''. London: 1888.
* A. H. Keaw, ''Man: Past and Present''. Cambridge: 1900.
* {{Cite EB1911|wstitle=Miaotsze}}
* Johnson, Charles. ''Dab Neeg Hmoob: Myths, Legends and Folk Tales from the Hmong of Laos''. [[St. Paul, Minnesota]]: [[Macalester College]], 1983. – bilingual oral literature anthology, includes introduction and explanatory notes from a language professor who had sponsored the first Hmong family to arrive in Minnesota<!--Fadiman 294-->
* Lee, Mai Na M. "[http://www.hmongstudies.com/HSJ-v2n1_Lee.pdf The Thousand-Year Myth: Construction and Characterization of Hmong]." ([https://web.archive.org/web/20120207020038/http://hmongstudies.com/HSJ-v2n1_Lee.pdf Archive]) ''[[Hmong Studies Journal]]''. v2n2. Northern hemisphere Spring 1998.
* Meneses, Rashaan. "[https://web.archive.org/web/20151016100033/http://www.international.ucla.edu/article.asp?parentid=12590 Hmong: An Endangered People]." UCLA International Institute.
* Merritt, ''Tragic Mountains: The Hmong, the Americans, and the Secret Wars for Laos, 1942–1992''. Indiana: 1999.
* Mottin, Father Jean. ''History of the Hmong''. [[Bangkok]]: Odeon Store, 1980. written in Khek Noi, a Hmong village in northern Thailand, Translated into English by an Irish nun, printed in Bangkok.
* Quincy, Keith. ''[[Hmong: History of a People]]''. [[Cheney, Wash.]]: [[Eastern Washington University Press]], 1988.
* Savina, F.M. ''Histoire des Miao''. 2nd Edition. [[Hong Kong]]: Impremerie de la Société des Missions-Etrangères de Paris, 1930. Written by a French missionary who worked in [[Laos]] and [[Tonkin]].<!--Fadiman p. 294-->
* George, William Lloyd. "[http://www.time.com/time/world/article/0,8599,2005706,00.html Hmong Refugees Live in Fear in Laos and Thailand]." ''[[TIME (magazine)|TIME]]''. Saturday July 24, 2010.
* Hookaway, James. "[https://www.wsj.com/articles/SB126195650007706809?mod=slideshow_overlay_mod Thai Army Forces Out Refugees]." ''[[The Wall Street Journal]]''. December 28, 2009.
{{refend}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Sister project links|c=Category:Hmong}}
* [https://web.archive.org/web/20161227015927/http://www.laoveteransofamerica.org/ (Lao Veterans of America, Inc.) Laotian and Hmong veterans and refugee families of the Lao Veterans of America, Inc.]
* [http://www.cppa-dc.org Center for Public Policy Analysis (CPPA) in Washington, D.C. Hmong human rights, religious persecution/ religious freedom violations and refugee issues]
* [http://www.hmongnet.org/ Hmong-related web sites] edited by Mark Pfeifer of the Hmong Cultural Center.
* [https://web.archive.org/web/20080406154059/http://www.centerforpublicpolicyanalysis.org/ Laos & Hmong Refugee Crisis & human rights violations against Hmong people in Southeast Asia, Centre for Public Policy Analysis, Washington, D.C.]
* [http://www.hmongnet.org/publications Publications list]
* [http://www.hmongstudies.org/ Hmong Studies Internet Resource Center]
* [http://www.hmongstudies.org/LearnaboutHmongwebsite.html Hmong culture studies] multimedia educational content
* [http://garyyialee.com/ Hmong history and culture] articles by Hmong Australian anthropologist, Dr. Gary Yia Lee
* [https://web.archive.org/web/20160303200746/http://www.hmongcontemporaryissues.com/ Hmong Contemporary Issues] by Hmong French anthropologist and linguist, Dr. Kao-Ly Yang (English, French, and Hmong languages)
* [http://video.wpt.org/video/1726513324/ ''Being Hmong Means Being Free''] [[Wisconsin Public Television]]
* Hmong-American cast in 2008 US drama film Gran Torino set in Detroit by Clint Eastwood (his 2nd top) [[Gran Torino]]
* [http://hmongculture.net/hmong-people Learn about Hmong People & Culture]
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศพม่า]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศลาว]]
[[หมวดหมู่:ชาวม้ง]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ม้ง"