ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซิฟิลิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| deaths = 107,000 คน (2015)<ref name=GBD2015Death/>
}}
'''ซิฟิลิส''' ({{lang-en|syphilis}}) เป็น[[โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์]]โรคหนึ่ง มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย ''[[Treponema pallidum]]''<ref name=CDC2015Tx>{{cite web|title=Syphilis|url=https://www.cdc.gov/std/tg2015/syphilis.htm|website=CDC|accessdate=3 February 2016|date=June 4, 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160221200405/http://www.cdc.gov/std/tg2015/syphilis.htm|archivedate=21 February 2016|df=dmy-all}}</ref> ผู้ป่วยอาจมีอาการได้หลายอย่างขึ้นกับระยะที่เป็น (ระยะแรก ระยะที่สอง ระยะแฝง และระยะที่สาม)<ref name=CDC2015Fact/> ระยะแรกผู้ป่วยมักมี[[แผลริมแข็ง]] ซึ่งจะไม่เจ็บ แต่อาจมี[[แผล]]เจ็บขึ้นต่างหากได้<ref name=CDC2015Fact/> ระยะที่สองมักมี[[ผื่น]]ขึ้นทั่วตัว มักพบที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า<ref name=CDC2015Fact/> อาจมีแผลเจ็บในปากหรือในช่องคลอดได้<ref name=CDC2015Fact/> บางครั้งอาจเรียกว่า "ระยะออกดอก"<ref name=สารานุกรมไทยเยาวชน>สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ 10 / เรื่องที่ 2 โรคติดต่อและโรคเขตร้อน / โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. [http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=10&chap=2&page=t10-2-infodetail15.html เข้าถึงเมื่อ] 13 ธันวาคม พ.ศ. 2560</ref> ระยะแฝงอาจไม่มีอาการใดๆ ได้นานหลายปี<ref name=CDC2015Fact/> และระยะที่สามจะมีก้อนเนื้อ[[กัมมา]] และอาการทางระบบประสาทหรือหัวใจได้<ref name=Kent08>{{cite journal |vauthors=Kent ME, Romanelli F |title=Reexamining syphilis: an update on epidemiology, clinical manifestations, and management |journal=Annals of Pharmacotherapy |volume=42 |issue=2 |pages=226–36 |date=February 2008 |pmid=18212261 |doi=10.1345/aph.1K086 |url=}}</ref> บางครั้งโรคนี้ถูกเรียกว่าเป็น[[นักเลียนแบบผู้ยิ่งใหญ่]] เนื่องจากทำให้มีอาการได้หลากหลาย คล้ายคลึงกับโรคอื่นๆอื่น ๆ หลายโรค<ref name=CDC2015Fact>{{cite web|title=Syphilis - CDC Fact Sheet (Detailed)|url=https://www.cdc.gov/std/syphilis/stdfact-syphilis-detailed.htm|website=CDC|accessdate=3 February 2016|date=November 2, 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160206003059/http://www.cdc.gov/std/syphilis/stdfact-syphilis-detailed.htm|archivedate=6 February 2016|df=dmy-all}}</ref><ref name=Kent08/>
 
ซิฟิลิสติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์เป็นหลัก<ref name=CDC2015Fact/> นอกจากนี้ยังอาจติดจากมารดาไปยังทารกได้ทั้งในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด ทำให้ทารกป่วยจากโรค[[ซิฟิลิสแต่กำเนิด]]ได้<ref name=CDC2015Fact/><ref name=Wood09>{{cite journal |author=Woods CR|title=Congenital syphilis-persisting pestilence|journal=Pediatr. Infect. Dis. J. |volume=28 |issue=6 |pages=536–7 |date=June 2009 |pmid=19483520|doi=10.1097/INF.0b013e3181ac8a69 |url=}}</ref> เชื้อ ''T. pallidum'' มีสปีชีส์ย่อยหลายชนิด ซึ่งทำให้เกิดโรคต่างๆ กันไป โดยสปีชีส์ย่อย ''pallidum'' ทำให้เกิดโรคซิฟิลิส, ''pertenue'' ทำให้เกิดโรค[[คุดทะราด]] (yaws), ''carateum'' ทำให้เกิดโรค[[พินตา]] (pinta) และ ''endemicum'' ทำให้เกิด[[โรคเบเจล]] (bejel)<ref name=Kent08/> การวินิจฉัยมักต้องอาศัยอาการและ[[วิทยาเซรุ่ม|การตรวจเลือด]] ซึ่งสามารถตรวจพบเชื้อนี้ได้ผ่าน[[Dark-field microscopy|การตรวจกล้องจุลทรรศน์แบบฉากมืด]]<ref name=CDC2015Fact/> [[Centers for Disease Control and Prevention|ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ]]ของสหรัฐอเมริกาแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการตรวจหาการติดเชื้อซิฟิลิสเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจฝากครรภ์<ref name=CDC2015Fact/> รวมถึงในประเทศไทยด้วย<ref name=ซิฟิลิสแต่กำเนิด2558>สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, แนวทางระดับชาติเรื่องการกำจัดโรคซิฟิลิสแต่กำเนิดในประเทศไทย พ.ศ. 2558. http://e-library-aidssti.ddc.moph.go.th/books/detail/347 เข้าถึงเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2560</ref>
บรรทัด 31:
หากผู้ป่วยรู้ว่าตนเองเป็นโรคซิฟิลิสในระยะแรกหรือเริ่มต้น ผู้ป่วยไม่ควรกังวลหรือเครียด เพราะจะยิ่งทำให้สุขภาพร่างกาย และจิตใจทรุดโทรม แต่ผู้ป่วยควรพบแพทย์อยู่เป็นประจำ เพราะในระยะแรกยังมีทางรักษาให้หายขาดได้ โดยการทาน[[ยาปฏิชีวนะ]] [[เพนนิซิลิน]] เป็นเวลา 3 สัปดาห์ แต่ระยะเวลาในการรักษาขึ้นอยู่กับสุขภาพและโรคที่เป็นด้วย
อย่างไรก็ตามหากผู้ป่วยรักษาจนหายขาดแล้ว แต่ก็อย่ามั่นใจว่าจะหายขาด ผู้ป่วยควรมีการติดตามผลอย่างเป็นประจำ โดยการกลับมาตรวจซ้ำๆซ้ำ ๆอีกครั้ง ทุกๆทุก ๆ 3 เดือน จนครบ 3 ปี และควรปฏิบัติคำสั่งของแพทย์อย่างเคร่งครัด และสิ่งที่สำคัญที่สุดคืองดการมีเพศสัมพันธ์ เพื่อจะได้ไม่แพร่เชื้อแก่ผู้อื่น
 
==อ้างอิง==