ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
{{สโมสรฟุตบอล
| clubname = สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา
| image = [[ไฟล์:FC_Barcelona_logo.png|180px]]
| image_size = 180px
| fullname = ฟุตบอลกลุบบาร์เซโลนา <br />({{lang-ca|Futbol Club Barcelona}})
| nickname = ''L'equip blaugrana'' (ทีม) <br />''Culers'' หรือ ''Culos'' (ผู้สนับสนุน) <br />''Blaugranes'' หรือ ''Azulgranas''<!--in Catalan, it is always blaugrana (เอกพจน์) หรือ blaugranes (พหูพจน์) ขณะที่คำว่า "blaugrana" ในภาษากาตาลา ในภาษาสเปนมักใช้คำว่า "azulgrana"--> (ผู้สนับสนุน)<br />
| motto = Més que un club
| founded = {{วันเกิดและอายุ|2442|11|29}}
เส้น 19 ⟶ 20:
| website = http://www.fcbarcelona.com
| pattern_la1 = _fcbarcelona2021h
| pattern_b1 = _fcbarcelona2021H_fcbarcelona2021h
| pattern_ra1 = _fcbarcelona2021h
| pattern_sh1 = _fcbarcelona2021H
เส้น 28 ⟶ 29:
| shorts1 = 000080
| socks1 = 000080
| pattern_la2 = _fcbarcelona2021a
| pattern_b2 = _fcbarcelona2021a
| pattern_ra2 = _fcbarcelona2021a
| pattern_sh2 = _monterrey1213t1
| pattern_so2 = _monterrey1213t1
| leftarm2 = 000000
| body2 = 000000
| rightarm2 = 000000
| shorts2 = 000000
| socks2 = 000000
| pattern_la3 = _fcbarcelona2021t
| pattern_b3 = _fcbarcelona2021t
| pattern_ra3 = _fcbarcelona2021t
| pattern_sh3 = _monterrey1213t1
| pattern_so3 = _fcbarcelona2021t
| leftarm3 = ffffff
| body3 = ffffff
| rightarm3 = ffffff
| shorts3 = 000000
| socks3 = 1ac5dc
}}
'''สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา''' ({{lang-ca|Futbol Club Barcelona}}) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า '''บาร์เซโลนา''' หรือคุ้นเคยในอีกชื่อว่า '''บาร์ซา''' ({{lang-ca|Barça}}) เป็น[[สโมสรฟุตบอล]]อาชีพสเปน ตั้งอยู่ที่เมือง[[บาร์เซโลนา]] [[แคว้นกาตาลุญญา]] [[ประเทศสเปน]] เล่นอยู่ใน[[ลาลิกา]]
เส้น 89 ⟶ 90:
 
=== นูเญซและปีแห่งความมั่นคง (1978–2000) ===
ในปี ค.ศ. 1978 [[ชูเซบ ยุยส์ นูเญซ]] เป็นประธานสโมสรที่ได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกสโมสร การเลือกตั้งเช่นนี้ใกล้เคียงกับการเปลี่ยนแปลงของสเปนที่เปลี่ยนมาเป็นระบอบประชาธิปไตยในปี ค.ศ. 1974 หลังจบสิ้นระบบเผด็จการของจอมพลฟรังโก เป้าหมายหลักของนูเญซคือการพัฒนาบาร์ซาสู่สโมสรระดับโลกโดยให้ความมั่นคงกับสโมสรทั้งในและนอกสนาม จากคำแนะนำของไกรฟฟ์ นูเญซได้เลือก[[ลามาซีอา]]เป็นสถาบันเยาวชนของบาร์เซโลนาเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1979<ref name="sport1">{{cite web|url=http://www.sport.es/es/noticias/barca/20100818/masia-como-laboratorio/840127.shtml |title=La Masia, como un laboratorio |publisher=SPORT.es |accessdate=19 August 2010 |language=Spanishes |author=Perarnau, Martí |date=18 August 2010}}</ref> เขาดำรงตำแหน่งประธานเป็นเวลานาน 22 ปี และมีผลต่อภาพลักษณ์ของบาร์เซโลนาอย่างมาก นูเญซได้ถือนโยบายอย่างเคร่งครัดที่เกี่ยวข้องกับค่าจ้างทำงานและวินัย โดยให้ค่าตัวนักฟุตบอลอย่าง [[เดียโก มาราโดนา]], [[โรมารีอู]], [[โรนัลโด]] เท่ากับจำนวนเงินที่พวกเขาต้องการ<ref name="fcbarcelona4">{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.com/web/english/club/historia/etapes_historia/etapa_4.html |title=History part IV |publisher=FC Barcelona |accessdate=15 March 2010}}</ref><ref>Ball, Phil p. 85.</ref>
 
เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1979 สโมสรชนะใน[[ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ]]ครั้งแรก โดยชนะทีม[[ฟอร์ทูนาดึสเซลดอร์ฟ]] 4–3 ในนัดชิงชนะเลิศที่แข่งที่เมือง[[บาเซิล]] ที่มีผู้ชมแฟนสโมสรเดินทางมาชมมากกว่า 30,000 คน ต่อมาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1982 มาราโดนาเซ็นสัญญาด้วยค่าตัวสถิติโลกสมัยนั้น กับจำนวนเงิน 5 ล้านปอนด์ กับ[[สโมสรฟุตบอลโบคาจูเนียส์]]<ref>Dobson, Stephen; Goddard, John A. p. 180.</ref> ในฤดูกาลถัดมา ภายใต้การดูและของผู้จัดการทีม [[เซซาร์ ลุยส์ เมนอตตี|เมนอตตี]] บาร์เซโลนาชนะการแข่งขันโกปาเดลเรย์โดยชนะเรอัลมาดริด ในยุคของมาราโดนากับบาร์ซาค่อนข้างสั้น ต่อมาไม่นานเขาก็ย้ายไปอยู่กับ[[โซซีเอตาสปอร์ตีวากัลโชนาโปลี|นาโปลี]] ในการเริ่มฤดูกาล 1984–85 สโมสรได้จ้าง [[เทอร์รี เวเนเบิลส์]] เป็นผู้จัดการทีม และเขาสามารถนำทีมชนะในลาลิกาได้ พร้อมกับลูกทีมจากการนำโดยกองกลางชาวเยอรมัน [[แบร์นด์ ชุสเทอร์]] ในฤดูกาลถัดมาสโมสรเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศในถ้วยยุโรปอีกครั้ง แต่ก็แพ้ไปในการยิงจุดโทษกับ[[สโมสรฟุตบอลสแตอาวาบูคูเรชตี]] ({{lang-ro|Steaua Bucureşti}}) ที่เมือง[[เซบิยา]]<ref name="fcbarcelona4"/>
เส้น 118 ⟶ 119:
 
== ผู้สนับสนุน ==
ฉายาของผู้สนับสนุนบาร์เซโลนา คือ ''culer'' มาจากภาษากาตาลาคำว่า ''cul'' ({{lang-en|arse}}; ก้น) โดยในสนามกีฬาแห่งแรก [[กัมเดลาอินดุสเตรีย]] มีเขียนคำว่า ''culs'' ไปทั่วที่นั่ง ด้านความนิยมในประเทศสเปน ความนิยมในทีมบาร์เซโลนาอยู่ที่ 25% เป็นรองทีม[[สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด|เรอัลมาดริด]]ซึ่งมี 32% ส่วนอันดับ 3 คือทีม[[สโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย|บาเลนเซีย]]<ref>{{cite web|url=http://www.cis.es/cis/export/sites/default/-Archivos/Marginales/2700_2719/2705/Es2705mar_A.pdf |title=Ficha Técnica | publisher=Centro de Investigaciones Sociológicas |format=PDF |date = May 2007|accessdate=8 August 2010|language=Spanishes}}</ref> และในยุโรปถือเป็นสโมสรที่เป็นที่ชื่นชอบอันดับ 2<ref>Chadwick, Simon; Arthur, Dave. pp. 4–5.</ref> จำนวนสมาชิกของสโมสรเพิ่มขึ้นจาก 100,000 ในฤดูกาล 2003–04 ไปเป็น 170,000 ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2009<ref name=socis>{{cite web|url=http://www.sport.es/es/noticias/barca/20090919/barcelona-tiene-170000-socios/813866.shtml |title=El FC Barcelona ya tiene 170.000 socios |publisher=SPORT.es|language=Spanishes|date=19 September 2009 |first=Víctor |last=Aznar |accessdate=8 August 2010}}</ref> ความนิยมที่เพิ่มขึ้นมาจากนักฟุตบอล [[รอนัลดีนโย]] และยุทธวิธีด้านสื่อของประธานสโมสร [[ชูอัน ลาปอร์ตา]] ที่มุ่งไปด้านสื่อออนไลน์สเปนและอังกฤษ<ref>Fisk, Peter. pp. 201–202.</ref><ref>Brott, Steffen. p. 77.</ref>
 
นอกจากนั้น จากข้อมูลเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2010 สโมสรมีสมาชิกลงทะเบียนอย่างเป็นทางการ 1,335 คน จากทั่วโลก โดยเรียกว่า เปนเยส แฟนของสโมสรที่ช่วยประชาสัมพันธ์สโมสรในท้องถิ่นของตนเองจะได้รับสิทธิในการเยี่ยมชมเมื่อมายังบาร์เซโลนา<ref>{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.com/web/english/penyes/llistat_penyes/llistat_penyes.html |title=Penyes |publisher=FC Barcelona |date= |accessdate=8 August 2010}}</ref> ส่วนผู้สนับสนุนที่มีชื่อเสียง เช่น [[สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2]] ที่เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ และอดีตนายกรัฐมนตรีสเปน [[โฆเซ ลุยส์ โรดริเกซ ซาปาเตโร|โฆเซ ซาปาเตโร]]<ref>{{Cite news|url=http://pqasb.pqarchiver.com/washingtonpost/access/377088531.html?dids=377088531:377088531&FMT=ABS&FMTS=ABS:FT&type=current&date=Jul+29%2C+2003&author=Steven+Goff&pub=The+Washington+Post&desc=Barça+Isn%27t+Lounging+Around%3B+Storied+Catalonian+Club+Plots+Its+Return+to+the+Top|title=Barça Isn't Lounging Around; Storied Catalonian Club Plots Its Return to the Top|first=Steven|last=Goff|work=The Washington Post | date=29 July 2003}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://nation.ittefaq.com/issues/2008/07/02/news0376.htm|agency=Associated Press|title=Spain's football team welcomed by royals|work=The New Nation|accessdate=10 August 2010}}</ref>
เส้น 131 ⟶ 132:
ในทางกลับกัน เรอัลมาดริด แสดงให้เห็นถึงการเป็นศูนย์กลางอำนาจสูงสุดและระบอบการปกครอง[[ฟาสซิสต์]]<ref>{{Cite news|url=http://www.time.com/time/arts/article/0,8599,1697027,00.html|title=Barcelona vs. Real Madrid: More Than a Game|date=20 December 2007|accessdate=1 July 2009|work=[[Time (magazine)|Time]]|last=Abend|first=Lisa}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://www.guardian.co.uk/football/2001/mar/26/newsstory.sport13|title=Morbo: The Story of Spanish Football by Phil Ball (London: WSC Books, 2001)|date=26 March 2001|accessdate=1 July 2009|work=[[The Guardian]]|last=Lowe|first=Sid}}</ref> แต่อย่างไรก็ตามในระหว่าง[[สงครามกลางเมืองสเปน]] สมาชิกของทั้ง 2 สโมสร อย่างเช่น[[ชูเซบ ซุนยอล]] และ[[ราฟาเอล ซานเชซ เกร์รา]] ก็ต่างเจ็บปวดจากผู้สนับสนุนจอมพลฟรังโก
 
ในระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1950 บาร์เซโลนายิ่งแย่ลงไปเมื่อเกิดข้อพิพาทเรื่องการโยกย้ายทีมของ[[อัลเฟรโด ดิ เอสเตฟาโน]] ที่สุดท้ายลงเอยกับทีมเรอัลมาดริด และต่อมาก็เป็นกุญแจสำคัญในชัยชนะของทีม<ref>Burns, Jimmy. pp. 31–34.</ref> ในคริสต์ทศวรรษ 1960 เรอัลมาดริดเข้าสู่รอบแพ้คัดออกในถ้วยยุโรป ทั้ง 2 ทีมเจอกัน 2 ครั้ง<ref name="rsssf1">{{cite web|url=http://www.rsssf.com/tablesb/barcamadrid.html |title=FC Barcelona vs Real Madrid CF since 1902 |publisher=Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation |date=31 January 2000 |accessdate=21 August 2010 |author=García, Javier}}</ref> ส่วนการเจอกันในถ้วยยุโรปครั้งล่าสุดคือในปี ค.ศ. 2002 ที่สื่อสเปนขนานนามว่า "นัดฟุตบอลแห่งศตวรรษ" มีผู้ชมมากกว่า 500 ล้านคน<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/sport2/hi/football/7773773.stm |title=Real win Champions League showdown |publisher=BBC News |date=11 December 2008 |accessdate=21 August 2010}}</ref>
 
=== เอลเดร์บีบาร์เซลูนี ===
คู่แข่งของบาร์ซาในท้องถิ่นเดียวกันคือ [[แอร์ราเซเด อัสปัญญ็อล]] เป็นสมาคมในพระบรมราชูปถัมถ์ ก่อตั้งโดยแฟนฟุตบอลสเปน ซึ่งแตกต่างจากผู้บริหารหลักของบาร์ซาที่มีหลายสัญชาติ โดยมีประเด็นในการก่อตั้งสโมสรอย่างชัดเจนคือ ต่อต้านบาร์เซโลนา ที่พวกเขาไม่เห็นด้วยกับบาร์เซโลนา และเห็นว่าเป็นทีมของชาวต่างชาติ<ref name="Ball, Phil. pp. 86-87"/> อัสปัญญ็อลยิ่งดูมีพลังขึ้นเมื่อชาวกาตาลามองว่า "เป็นตัวยั่วโมโหแก่มาดริด"<ref>Shubert, Arthur. p. 199.</ref> สนามกีฬาเหย้าของอัสปัญญ็อลอยู่ในย่านคนรวยที่เรียกว่า [[เอสตาดีเดซาร์รีอา|ซาร์รีอา]]<ref>{{cite web|url=http://hemeroteca.lavanguardia.com/preview/1901/04/09/pagina-2/33398307/pdf.html |title=Edición del martes, 09 abril 1901, página 2 – Hemeroteca – Lavanguardia.es |language=Spanishes|publisher=Hemeroteca Lavanguardia|date= |accessdate=13 March 2010}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.rcdespanyol.cat/principal.php?modulo=estatico&idcontenido=8&idmenu=2&idsubmenu=22&nombremodulo=dates&idlinkchk=21 |title=History of Espanyol|publisher=RCD Espanyol |date= |accessdate=13 March 2010}}</ref>
 
ธรรมเนียมทั่วไปโดยเฉพาะในช่วงการปกครองของจอมพลฟรังโก ชาวบาร์เซโลนาส่วนใหญ่มองว่าอัสปัญญ็อลเป็นสโมสรที่อ่อนข้อให้กับการปกครองจากส่วนกลาง ในทางตรงกันข้ามบาร์ซาเป็นเหมือนจิตวิญญาณของนักปฏิวัติ<ref>{{cite web|url=http://www.iss.europa.eu/index.php?id=18&no_cache=1&L=1&tx_ttnews%5Bpointer%5D=41&tx_ttnews%5Btt_news%5D=697&tx_ttnews%5BbackPid%5D=232&tx_ttnews%5Bpage%5D=1&cHash=2becc765c6|title=European football cultures and their integration: the 'short' Twentieth Century|date=March 2002|accessdate=1 July 2009|publisher=Iss.Europa.eu|last=Missiroli|first=Antonio}}</ref> ในปี ค.ศ. 1918 อัสปัญญ็อลเริ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองซึ่งตอนนั้นเป็นประเด็นปัญหาอยู่<ref name="Ball, Phil. pp. 86-87">Ball, Phil. pp. 86–87.</ref> ต่อมากลุ่มผู้สนับสนุนอัสปัญญ็อลเข้าร่วมกับพวก[[ฟาลังจิสต์]]ในสงครามกลางเมืองสเปน ฝั่งฟาสซิสต์ ถึงอย่างไรก็ตามความแตกต่างในอุดมการณ์นี้ ในการแข่งขันระหว่างทั้ง 2 ทีม ก็มีความสำคัญกับผู้สนับสนุนอัสปัญญ็อลมากกว่าบาร์เซโลนา เนื่องจากอุดมการณ์ที่แตกต่างกันนี้ ในยุคปัจจุบันการแข่งขันเริ่มลดการเมืองลงไป และอัสปัญญ็อลเปลี่ยนชื่อและเพลงสโมสรอย่างเป็นทางการจากภาษาสเปนเป็นภาษากาตาลา<ref name="Ball, Phil. pp. 86-87"/>
เส้น 159 ⟶ 160:
และผู้ทำประตูสูงสุดในลีก ([[ลาลิกา]]) ของบาร์เซโลนา ก็คือ [[ลิโอเนล เมสซิ]] (2004 - ปัจจุบัน) จำนวนประตูในลีกนับถึงฤดูกาล 2015-2016 คือ 312 ประตู เมสซิทำลายสถิติเดิมของ [[เซซาร์ โรดรีเกซ อัลบาเรซ|เซซาร์ โรดรีเกซ]] จำนวน 195 ประตูในลาลิการระหว่างปี ค.ศ. 1942 ถึง 1955<ref>{{cite web|title=LFP – Barcelona Seasons|url=http://www.lfp.es/?tabid=113&Controltype=plan&IDEquipo=5&IDTemporada=028&IDDivision=1|publisher=[[Liga de Fútbol Profesional]] Tables for other seasons may be obtained using the "Other searches" button|accessdate=8 August 2010}}</ref> โดยการทำ 2 ประตู ในนัดพบกับ [[เรอัลเบติส]] วันที่ 9 ธันวาคม 2012 มีนักฟุตบอลเพียง 4 คนที่ทำประตูได้มากกว่า 100 ประตูในลีกให้กับบาร์เซโลนา คือ [[ลิโอเนล เมสซิ]] (312), เซซาร์ โรดรีเกซ (195), [[ลัสโซล คูบาลา]] (131), และ [[ซามูแอล เอโต]] (108)
 
นอกจากนี้ '''ลิโอเนล เมสซิ''' (312 ประตูในลีก ''updated season 2015-2016'') ยังถือครองสถิติ ผู้ทำประตูสูงสุดในลาลิกาสเปนปัจจุบันอีกด้วย โดยการทำลายสถิติเดิมตั้งแต่ปี 1995 ของ [[เตลโม ซาร์ร่า]] นักฟุตบอลจากทีม [[อัตเลติกเดบิลบาโอ]] จำนวน 251 ประตู ในนัดที่ทำแฮตทริก เกมบาร์เซโลนาพบกับ[[เซบิยา]] วันที่ 22 พฤศจิกายน 2014<ref>{{cite web|url=http://www.goal.com/th/news/4259/%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%99ฟุตบอลสเปน/2014/11/23/6408861/%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%99ถ่อมตน-%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%8B%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%99เมสซีเผยพังสถิติซัลโวลาลีก้าได้เพราะทุกคน|title=ถ่อมตน! เมสซีเผยพังสถิติซัลโวลาลีก้าได้เพราะทุกคน}}</ref>
 
เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 จำนวนการยิงประตูของบาร์เซโลนา ถึง 5,000 ประตู โดยเมสซิยิงในนัดแข่งกับ[[ราซินเดซันตันเดร์]] ที่บาร์ซาชนะ 2–1<ref>{{cite web|url=http://www.fifa.com/worldfootball/clubfootball/news/newsid=1012195.html |title=Messi propels 5,000-goal Barcelona |publisher=FIFA|date=2009-02-01 |accessdate=13 March 2010}}</ref>
เส้น 220 ⟶ 221:
== สนามกีฬา ==
[[ไฟล์:Chelsea on Tour - Barcelona 311006.jpg|right|thumb|alt=an elevated view of the stadium at night|มุมมองสนามกัมนอว์ภายในสนาม]]
เริ่มแรกบาร์เซโลนาเล่นที่สนาม[[กัมเดลาอินดุสเตรีย]] มีความจุราว 10,000 คนและสโมสรเห็นว่าสิ่งอำนวยความสะดวกยังไม่ดีพอกับสมาชิกที่เพิ่มขึ้น<ref>{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.cat/web/catala/noticies/club/temporada08-09/03/n090314107593.html|publisher=FC Barcelona|title=Cent anys del camp de la Indústria|accessdate=11 September 2010|date=14 March 2009|author=Santacana, Carles|language=Catalanca}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1922 ผู้สนับสนุนสโมสรมีเพิ่มขึ้นมากกว่า 20,000 คน และสนับสนุนเงินให้กับสโมสร ทำให้บาร์ซาสามารถที่จะสร้างสนามที่ใหญ่กว่า โดยสร้างสนาม[[กัมเดเลสกอตส์]] ที่มีความจุ 20,000 คน หลังจากสงครามกลางเมืองสเปน สโมสรเริ่มมีสมาชิกมากขึ้นและมีผู้เข้าชมการแข่งขันเป็นจำนวนมาก ทำให้มีการขยับขยายสนาม โดยขยาย[[อัฒจันทร์]]ใหญ่ในปี ค.ศ. 1946 ขยายอัฒจันทร์ฝั่งทิศใต้ในปี ค.ศ. 1946 และสุดท้ายขยายอัฒจันทร์ฝั่งทิศเหนือในปี ค.ศ. 1950 หลังการขยับขยายครั้งสุดท้าย สนามเลสกอตส์สามารถจุคนได้ 60,000 คน<ref name="fcbarcelona6">{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.cat/web/english/club/club_avui/territori_barca/CampNou/intro_historica.html|title=Brief history of Camp Nou |publisher=FC Barcelona |date= |accessdate=30 July 2010}}</ref>
เส้น 229 ⟶ 230:
ในปี ค.ศ. 1980 มีการออกแบบสนามกีฬาใหม่ให้เข้ากับเกณฑ์พิจารณาของยูฟ่า สโมสรได้หาเงินจากผู้สนับสนุน โดยจะสลักชื่อบนหินด้วยจำนวนเงินเล็กน้อย แนวคิดนี้ได้รับการตอบรับจากผู้สนับสนุน โดยมีคนหลายพันคนร่วมสนับสนุน แต่ต่อมากลายเป็นข้อพิพาทเมื่อสื่อในมาดริด ยกประเด็นนี้เมื่อมีหินก้อนหนึ่งที่สลักชื่อ ประธานของเรอัลมาดริด และผู้สนับสนุนจอมพล[[ฟรันซิสโก ฟรังโก|ฟรังโก]] ชื่อ [[ซานเตียโก เบร์นาเบว เยสเต]]<ref>Ball, Phil pp. 20–21.</ref><ref>Ball, Phil pp. 121–22.</ref><ref>Murray, Bill; Murray, William J.. p. 102.</ref> ต่อมาในการเตรียมงานสำหรับกีฬา[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1992]] ได้มีการติดที่นั่ง 2 แถว เหนือแนวหลังคาเดิม<ref>Snyder, John. pp. 81–2.</ref> ปัจจุบันสนามจุคนได้ 99,354 คน เป็นสนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป<ref>Stone, Peter. p. 201.</ref>
 
นอกจากนั้นยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น เช่น<ref>{{cite web|url=http://www.fcbarcelona.cat/web/castellano/noticies/club/temporada09-10/07/n090728107768.html|title=El proyecto Barça Parc, adelante|accessdate=28 July 2009|year=2009|language= Spanishes|publisher=FC Barcelona}}</ref>
 
* [[ซิวตัตเอสปอร์ตีบาฌูอันกัมเป]] (สนามฝึกซ้อมของสโมสร)
เส้น 332 ⟶ 333:
{{Fb cs staff |bg= |p=ผู้ช่วยผู้จัดการทีมที่ 2 |s=โรแบร์ต โมเรโน}}
{{Fb cs staff |bg= |p=ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน |s=ชูอัง บาบารา}}
{{Fb cs staff |bg= |p=ผู้ฝึกสอนด้านฟิตเนส |s=ราฟา โพล<br />เอดู พอนส์<br />ฟรานเชสก์ คอส<br />ปาโก เซรูโย}}
{{Fb cs staff |bg= |p=ผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตู |s=[[โชเซ รามอน เด ลา ฟวนเต]]}}
{{Fb cs staff |bg= |p=แมวมอง |s=อีซีเดร รามอน<br/>เชซุส กาซัส<br />ฌอร์ดี เมเลโร่<br />ชาวเม ตอราส}}
{{Fb cs staff |bg= |p=นักกายภาพบำบัด |s=ชาวเม มินุย<br />ชวนโย บาว<br />ชาบี โลเปซ<br />ชาบี ลินเด}}
{{Fb cs staff |bg= |p=นักจิตวิทยา |s=ชวากิน บัลเดส}}
{{Fb cs staff |bg= |p=แพทย์ |s=รามอน กานัล<br />รีกา พรูนา<br />ดาเนียล เมดีนา}}
{{Fb cs staff |bg= |p=ผู้ประสานงาน |s=การ์เลส นาวาล}}
{{Fb cs staff |bg= |p=ผู้จัดการด้านฟุตบอล |s=เอเรียโด บราอีดา}}
เส้น 394 ⟶ 395:
| first = Peter|last=Fisk|publisher=John Wiley and Sons|year=2008|isbn=1-84112-790-6}}
* {{Cite book|author=Ghemawat, Pankaj|title=Redefining global strategy: crossing borders in a world where differences still matter|page=2|publisher=Harvard Business Press|year=2007|isbn=1-59139-866-5}}
* {{Cite book|title=Long distance love: a passion for football|first=Grant|last=Farred|publisher=Temple University Press|year=2008|isbn=1-59213-374-6|unused_data=ISBN}}
* {{Cite book|title=Marketing the Sports Organisation: Building Networks and Relationships|first=Alain|last=Ferrand|first2=Scott|last2=McCarthy|publisher=Taylor & Francis|year=2008|isbn=0-415-45329-1}}
* {{Cite book|first=Anthony|last=King|publisher=Ashgate Publishing, Ltd|year=2003|title=The European ritual: football in the new Europe|isbn=0-7546-3652-6}}