ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามท่าดินแดง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
}}
 
'''สงครามท่าดินแดง''' เป็นสงครามระหว่างสยาม[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์]]และอาณาจักรพม่า[[ราชวงศ์โก้นบอง]] เป็นการรุกรานของพม่าครั้งที่สองในสมัยรัตนโกสินทร์และเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องจากสงครามเก้าทัพ เกิดขึ้นหลังจากสงครามเก้าทัพหนึ่งปีในพ.ศ. 2329 หลังจากที่ฝ่ายพม่าซึ่งนำโดย[[พระเจ้าปดุง]]ปราชัยไปในสงครามเก้าทัพและถอยทัพกลับ ในปีต่อมาฝ่ายพม่าพระเจ้าปดุงทรงจัดทัพเข้ารุกรานสยามอีกครั้ง โดยเข้ามาทางเส้นทางเดียวคือทาง[[ด่านเจดีย์สามองค์]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก|พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ]]และกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทเสด็จยกทัพไปสู้รบกับฝ่ายพม่าที่ท่าดินแดงและสามประสบ ([[อำเภอสังขละบุรี]] จังหวัดกาญจนบุรี) ได้รับชัยชนะสามารถต้านทานการรุกรานของพม่าได้สำเร็จ
'''สงครามท่าดินแดง''' สงครามครั้งที่ 2 ในสมัย [[อาณาจักรรัตนโกสินทร์]] ระหว่างสยามกับ[[ราชวงศ์คองบอง|อาณาจักรคองบอง]]เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2329 หรือ 1 ปีหลังจาก[[สงครามเก้าทัพ]] ที่เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2328 เป็นการปะทะกันระหว่างกองทัพราชวงศ์คองบองซึ่งพระเจ้าปดุงนำทัพด้วยพระองค์เองขณะที่กองทัพราชวงศ์จักรีรัชกาลที่ 1 นำทัพด้วยพระองค์เองร่วมกับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทผู้เป็นพระราชอนุชา
 
ในสงครามครั้งนี้พระเจ้าปดุงโปรดเกล้าให้ยกทัพเข้ามาทาง [[ด่านเจดีย์สามองค์]] เพียงทัพเดียวไม่เหมือนสงครามเก้าทัพที่แยกกันมาถึงเก้าทัพและโปรดเกล้าให้ตั้งทัพที่ท่าดินแดงแขวงเมืองกาญจนบุรี ซึ่งสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ เนื่องจากกองทัพสยามบุกเข้าโจมตีกองทัพพม่าจนแตกพ่ายไป
 
== เหตุการณ์นำ ==
เส้น 40 ⟶ 38:
 
ในวันพุธ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 4 (มีนาคม พ.ศ. 2330) ทัพฝ่ายไทยเข้าโจมตีทัพฝ่ายพม่าพร้อมกันทั้งทีท่าดินแดงและสามประสบ การสู้รบกินเวลาทั้งกลางวันและกลางคืนมีการยิ่งปืนใหญ่ใส่กันและกัน การสู้รบใช้เวลาประมาณสามวันจนกระทั่งในวันศุกร์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ทัพพม่าแตกพ่ายถอยร่นไป ฝ่ายเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชทรงทราบว่าทัพหน้าของเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นพ่ายแพ้ถอยมาแล้วจึงมีพระบัญชาให้ถอยทัพกลับไปยังเมืองเมาะตะมะเช่นกัน ทัพฝ่ายไทยยกติดตามไปสังหารทหารพม่าจำนวนและติดตามไปจนถึงแม่น้ำแม่กษัตริย์ซึ่งทัพของเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชตั้งอยู่ จากนั้นมีพระราชโองการให้เผาทำลายยุ้งฉางที่เก็บเสบียงของพม่าจนหมดสิ้น แล้วจึงยกทัพกลับพระนคร
 
== ผลลัพท์ ==
สงครามท่าดินแดง นับเวลาตั้งแต่ยกทัพออกจากกรุงเทพฯไป ใช้ระยะเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งเดือน<ref name=":0" /> สามารถเอาชนะทัพฝ่ายพม่าได้ แม้ว่าฝ่ายพม่าพยายามแก้ไขปัญหาเรื่องความขาดแคลนเสบียงดังที่เกิดขึ้นในสงครามเก้าทัพครั้งก่อนแล้ว แต่ฝ่ายพม่ากลับไม่สามารถตั้งทัพอยู่ได้นานต้องถอยกลับไปในเวลาสั้น ฝ่ายสยามยกทัพไปพบกับทัพพม่าถึงเขตชายแดน<ref name=":0" /> ไม่ปล่อยให้ทัพพม่ายกล่วงเข้ามาถึงลาดหญ้าเหมือนครั้งก่อน สงครามเก้าทัพและสงครามท่าดินแดง เป็นการรุกรานของพม่าทางภาคตะวันตกครั้งสุดท้าย จากนั้นฝ่ายสยามกลับขึ้นเป็นฝ่ายรุกนำไปสู่[[สงครามตีเมืองทวาย]]
 
== ดูเพิ่ม ==