ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ห้าชนเผ่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ES Geqias (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
 
'''ห้าเผ่าคนเถื่อน'''หรือเรียกอีกอย่างว่า '''หวู่ฮู''' เป็นประวัติศาสตร์จีนที่ถูกเรียกกันสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่ชาวจีนซึ่งได้อพยพมาจากทางเหนือของแผ่นดินจีนในยุค[[ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก]] และหลังจากนั้นก็ได้ล้มล้าง[[ราชวงศ์จิ้นตะวันตก]]และสถาปนา[[สิบหกแคว้น|อาณาจักรของพวกเขาเอง]]ขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 4-5<ref name="Gernet">[https://books.google.com/books?id=jqb7L-pKCV8C&pg=PA186&dq=%22five+barbarians%22&hl=en&sa=X&ei=uyGqVICoM8iKgwSS5YPICg&ved=0CB8Q6AEwAA#v=onepage&q=%22five%20barbarians%22&f=false][[Jacques Gernet]]<span>, </span>''A History of Chinese Civilization'' <span>Cambridge University Press 1996</span> P.186-87</ref><ref name="Tanigawa">[https://books.google.com/books?id=_uWUnbWbq7QC&pg=PA120&dq=%22five+barbarians%22&hl=en&sa=X&ei=uyGqVICoM8iKgwSS5YPICg&ved=0CDcQ6AEwBA#v=onepage&q=%22five%20barbarians%22&f=false Michio Tanigawa & Joshua Fogel, ''Medieval Chinese Society and the Local "community"'' University of California Press 1985] p. 120-21</ref><ref name="Van Der Veer">[https://books.google.com/books?id=slp8RTUn97AC&pg=PA200&dq=%22five+barbarians%22&hl=en&sa=X&ei=uyGqVICoM8iKgwSS5YPICg&ved=0CFkQ6AEwCg#v=onepage&q=%22five%20barbarians%22&f=false Peter Van Der Veer, "III. Contexts of Cosmopolitanism" in Steven Vertovec, Robin Cohen eds., ''Conceiving Cosmopolitanism: Theory, Context and Practice'' Oxford University Press 2002] p. 200-01</ref><ref>[https://books.google.com/books?id=zzEUAgAAQBAJ&pg=PA9&dq=%22five+barbarians%22&hl=en&sa=X&ei=uyGqVICoM8iKgwSS5YPICg&ved=0CIEBEOgBMBI#v=onepage&q=%22five%20barbarians%22&f=false John W. Dardess, ''Governing China: 150-1850'' Hackett Publishing 2010] p. 9</ref> ชาวเผ่าที่ได้ถูกจัดกลุ่มเป็นห้าเผ่าคนเถื่อนคือ เผ่าซองหนู (匈奴) เผ่าเจี๋ย (羯) เผ่าเซียนเป่ย (鲜卑) เผ่าตี (氐) และเผ่าเซียง (羌)<ref name="Gernet" /><ref name="Van Der Veer" /><ref name="urlThe Sixteen States of the Five Barbarian Peoples 五胡十六國 (www.chinaknowledge.de)2">{{cite web|url=http://www.chinaknowledge.de/History/Division/shiliuguo.html|title=The Sixteen States of the Five Barbarian Peoples 五胡十六國 (www.chinaknowledge.de)|format=|work=|accessdate=}}</ref> ในกลุ่มชาติพันธุ์​ชนเผ่าทั้งห้ากลุ่ม เผ่าซองหนูและเผ่าเซียนเป่ยเป็น[[ชนร่อนเร่]]จาก[[สเตปป์]]ทางตอนเหนือ เอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของเผ่าซองหนูนั้นไม่มีความแน่นอน แต่เซียนเป่ยนั้นจะมีความคล้ายคลึงกับชนเผ่ามองโกล เผ่าเจี๋ยนั้น คนในเผ่าล้วนเลี้ยงสัตว์ด้วยทุ่งหญ้า อาจจะเป็นส่วนย่อยของเผ่าซองหนู ที่น่าจะเป็น[[ชาวเยนีเซย์]] (Yeniseian)<ref>Vovin, Alexander. "Did the Xiongnu speak a Yeniseian language?". Central Asiatic Journal 44/1 (2000), pp. 87-104.</ref> เผ่าตีและเซียงนั้นมาจากที่ราบสูงทางตะวันตกของจีน<ref name="Gernet" /> เผ่าเซียงเป็นพวกคนเลี้ยงสัตว์เป็นส่วนใหญ่และพูดเป็น[[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า|ภาษาจีน-ทิเบต]](ทิเบต-พม่า) ในขณะที่เผ่าตีล้วนเป็นชาวนาที่อาจจะพูดเป็นภาษาจีน-ทิเบต<ref name="Di People">(Chinese) [http://www.bswh.net/ReadNews.asp?NewsID=421&BigClassName=%B3%C9%B9%FB%D5%B9%CC%A8&SmallClassName=%D7%A8%D6%B0%C8%CB%D4%B1%C2%DB%CE%C4&SpecialID=45 段渝, 先秦巴蜀地区百濮和氐羌的来源] 2006-11-30</ref> หรือ[[กลุ่มภาษาเตอร์กิก|ภาษาเตอร์กิก]]<ref>[https://books.google.com/books?hl=en&id=UAAaAQAAIAAJ Guo Ji Zhongguo Yu Yan Xue Ping Lun], Volume 1, Issue 1, J. Benjamins 1996. page 7.</ref>
 
==ประวัติศาสตร์==
{{โครงส่วน}}
 
==อ้างอิง==