ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Charlie.tiya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ปรับรูปแบบ}}
{{กล่องข้อมูล ขุนนาง
| name = พระยาฤทธิอัคเนย์ <br> (สละ เอมะศิริ)
เส้น 17 ⟶ 18:
}}
 
'''พันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์''' สมาชิก[[คณะราษฎร]]ผู้ทำ[[การปฏิวัติสยาม|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] เมื่อ [[พ.ศ. 2475]] จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ [[ทหารบก]]ชั้นผู้ใหญ่ เป็นระดับผู้บังคับบัญชาและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย [[พจน์ พหลโยธิน|พระยาพหลพลพยุหเสนา]], [[พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)|พระยาทรงสุรเดช]], พระยาฤทธิอัคเนย์ และ[[พระประศาสน์พิทยายุทธ]]
 
พระยาฤทธิอัคเนย์เป็นนายฤทธิอัคเนย์ มีชื่อเดิมว่า '''สละ เอมะศิริ''' เกิดเมื่อวันที่ [[14 มกราคม]] [[พ.ศ. 2432]] เป็นบุตรชายของพระยามนูสารศาสตรบัญชา (ศิริ เอมะศิริ) และคุณหญิง เหลือบ เอมะศิริ เป็นนาย[[ทหารปืนใหญ่]] ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีตำแหน่งเป็น ผู้บังคับการ[[กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์]] (ป. 1 รอ.) และถือเป็นผู้เดียวที่มีกองกำลังพลในบังคับบัญชา <ref>[http://www.maneebooks.com/German_capt/germ_02.html นักเรียนนายร้อยไทยในเยอรมัน ยุค ไกเซอร์ โดย [[สรศัลย์ แพ่งสภา]]]</ref> ใน[[สนธยา|เช้าตรู่]]ของวันที่ [[24 มิถุนายน]] พ.ศ. 2475 ที่เป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น พระยาฤทธิอัคเนย์ได้แสร้งทำเป็นเดินตรวจความเรียบร้อยของพาหนะต่าง ๆ ในสังกัดของตนเอง และเป็นผู้ออกคำสั่งให้ทหารปืนใหญ่ในบังคับบัญชาตนเองรวมพลกับ[[ทหารม้า]]จากกรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ (ม. 1 รอ.) เมื่อเดินทางมาถึง เพื่อต้อนขึ้น[[รถบรรทุก]]ไปยัง[[ลานพระบรมรูปทรงม้า]]เพื่อลวงเอากำลังมาเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตามแผนของพระยาทรงสุรเดช จึงทำให้แผนการ[[ปฏิวัติ]]สำเร็จลุล่วงด้วยดี
พระยาฤทธิอัคเนย์ มีชื่อเดิมว่า '''สละ เอมะศิริ''' เกิดเมื่อวันที่ [[14 มกราคม]] [[พ.ศ. 2432]] เป็นบุตรชายของพระยามนูสารศาสตรบัญชา (ศิริ เอมะศิริ) และคุณหญิง เหลือบ เอมะศิริ
 
พระยาฤทธิอัคเนย์เป็นนาย[[ทหารปืนใหญ่]] ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีตำแหน่งเป็น ผู้บังคับการ[[กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์]] (ป. 1 รอ.) และถือเป็นผู้เดียวที่มีกองกำลังพลในบังคับบัญชา <ref>[http://www.maneebooks.com/German_capt/germ_02.html นักเรียนนายร้อยไทยในเยอรมัน ยุค ไกเซอร์ โดย [[สรศัลย์ แพ่งสภา]]]</ref> ใน[[สนธยา|เช้าตรู่]]ของวันที่ [[24 มิถุนายน]] พ.ศ. 2475 ที่เป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น พระยาฤทธิอัคเนย์ได้แสร้งทำเป็นเดินตรวจความเรียบร้อยของพาหนะต่าง ๆ ในสังกัดของตนเอง และเป็นผู้ออกคำสั่งให้ทหารปืนใหญ่ในบังคับบัญชาตนเองรวมพลกับ[[ทหารม้า]]จากกรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ (ม. 1 รอ.) เมื่อเดินทางมาถึง เพื่อต้อนขึ้น[[รถบรรทุก]]ไปยัง[[ลานพระบรมรูปทรงม้า]]เพื่อลวงเอากำลังมาเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตามแผนของพระยาทรงสุรเดช จึงทำให้แผนการ[[ปฏิวัติ]]สำเร็จลุล่วงด้วยดี
 
ก่อนหน้านั้น ในการประชุมวางแผน พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นเสนาธิการผู้วางแผนการปฏิวัติทั้งหมด ได้เสนอให้ใช้กำลังบุกจู่โจม[[พระที่นั่งอัมพรสถาน]]ในยามวิกาล อันเป็นที่ประทับของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่ 7) เพื่อทำการควบคุมพระองค์ พระยาฤทธิ์อัคเนย์เห็นด้วยกับแผนการนี้ แต่ที่ประชุมส่วนใหญ่ นำโดย พระประศาสน์พิทยายุทธ ไม่เห็นด้วย เพราะเห็นว่าค่อนข้างเสี่ยงว่าจะมีการปะทะกันด้วยความรุนแรง แผนการนี้จึงตกไป และตัวของพระยาฤทธิ์อัคเนย์เกือบจะถอนตัวไป เนื่องจากเห็นว่าคงกระทำการไม่สำเร็จ<ref name="ทหารเรือปฏิวัติ">{{อ้างหนังสือ