ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาหมิ่นใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 5:
| familycolor = Sino-Tibetan
| states = [[จีน]], [[ไต้หวัน]] [[มาเลเซีย]], [[อินโดนีเซีย]], [[สิงคโปร์]], [[ฟิลิปปินส์]],[[ไทย]](บริเวณจังหวัดภูเก็ตและใกล้เคียง) และบริเวณอื่นๆ
| region = ทางใต้ของ [[มณฑลฝูเจี้ยน]] ; เขต[[เจ้าซัวเฉาโจว]](แต้จิ๋ว)-[[ซานตัวซ่านโถว]](ซัวเถา) ([[เจ้าซานเฉาซ่าน (แต้ซัว)]]) และ[[คาบสมุทรเหลยซัว]] ใน [[มณฑลกวางตุ้ง]]; ส่วนใหญ่ในไต้หวันและ [[เกาะไหหลำ]] '' (ถ้ารวมภาษาไหหลำ) '' เมือง[[เฉาโจว]]([[แต้จิ๋ว]])มณฑลกวางตุ้ง
| speakers = 49 ล้านคน
| rank = 21 '' (ถ้ารวมภาษาไหหลำ) ''
บรรทัด 14:
| iso1 = zh|iso2b=chi|iso2t=zho|iso3=nan
}}
'''ภาษาหมิ่นใต้''', '''ภาษาหมิ่นหนาน''' หรือ '''ภาษาบั่นลั้ม''' เป็นหนึ่งใน[[กลุ่มภาษาจีน]]ใช้พูดทางใต้ของ[[มณฑลฝูเจี้ยน]]และบริเวณใกล้เคียง และโดยลูกหลานของผู้อพยพจากบริเวณนี้เข้าไปยังบริเวณอื่น ๆ ทั่วโลก โดยทั่วไปภาษาหมิ่นใต้เป็นชื่อเรียกโดยชาวจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำเนียงหนึ่งในภาษานี้เรียกภาษาไต้หวันฮกเกี้ยน อยู่ในกลุ่ม[[ภาษาหมิ่น]] ของภาษาจีน โดยปกติไม่สามารถเข้าใจกันได้กับ[[ภาษาหมิ่นตะวันออก]] [[ภาษาจีนกวางตุ้ง]] และ[[ภาษาจีนกลาง]]
[[ไฟล์:Map_of_sinitic_languages-en.svg|right|thumb| การกระจายตัวของผู้พูดภาษาจีนสำเนียงต่างๆ]]
 
== ภาษาหมิ่นใต้ ==
ภาษาหมิ่นใต้ใช้พูดทางใต้ของมณฑลฝูเจี้ยนและทางตะวันออกของ[[มณฑลกวางตุ้ง]] รวมทั้ง[[เกาะไหหลำ]] สำเนียงฮกโลของภาษานี้ถือเป็นภาษาประจำชาติของไต้หวันเรียก[[ภาษาไต้หวัน]] ผู้พูดภาษาหมิ่นใต้มีมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งใน [[ฟิลิปปินส์]] สิงคโปร์ [[มาเลเซีย]] [[อินโดนีเซีย]] และ [[ไทย]] ภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนหนึ่งมาจากเขตเจ้าซานเฉาซ่าน (แต้ซัว)ในกวางตุ้งและพูดภาษาหมิ่นใต้[[สำเนียงแต้จิ๋ว]] นอกจากนี้ภาษาหมิ่นใต้ยังเป็นภาษาแม่ของชาวจีนในฟิลิปปินส์อีกราว 98.5% ซึ่งพูด[[ภาษาลันนัง|สำเนียงลันนัง]] ประเทศไทยพูดกันมากในจังหวัดภูเก็ตและบริเวณโดยรอบ ซึ่งพูดสำเนียง [[Penang Hokkien|ปีนังฮกเกี้ยน]] เป็นสำเนียงที่พูดในปีนัง ซึ่งเดิมเป็นสำเนียงของเมืองฉวนโจว และ เป็นต้นภาษาทำให้เกิด[[ภาษาไทยบ้าบ๋าภูเก็ต]] ซึ่งมีคำยืมในภาษาหมิ่นใต้ (สำเนียงฉวนโจว) จำนวนมาก
[[ไฟล์:Varieties of the Minnan Macrolanguage.png|right|thumb| การกระจายตัวของผู้พูดภาษาหมิ่นใต้]]
 
บรรทัด 24:
ภาษาหมิ่นใต้ไม่มีรูปแบบมาตรฐาน ผู้พูดภาษานี้จะเรียนการอ่านภาษาจีนกลางในโรงเรียน ไม่มีการพัฒนาระบบการเขียนเป็นของตนเอง จนในปัจจุบันจึงมีการพัฒนาระบบการเขียนที่เป็นมาตรฐานคือใช้อักษรจีนและอักษรโรมัน
* [[อักษรจีน]]ใช้ตามแบบ[[ภาษาจีนกลาง]] แต่มีการเพิ่มอักษรบางตัวที่ใช้เฉพาะภาษาหมิ่นใต้ ใช้ในจีน [[ไต้หวัน]] [[สิงคโปร์]] และบริเวณอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
* [[อักษรโรมัน]] ใช้กับภาษาไต้หวันฮกเกี้ยนพัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารี[[เพรสไบทีเรียน|คณะเพรสไบทีเรียน]]ในประเทศจีน และปรับปรุงต่อมาโดยมิชชันนารีในไต้หวัน เริ่มเป็นที่แพร่หลายเมื่อประมาณ พ.ศ. 2433 การใช้อักษรโรมันผสมกับอักษรจีนมีให้เห็นบ้างแต่ไม่เป็นที่นิยมมากนัก เอกสารที่เขียนด้วยภาษาหมิ่นใต้รุ่นแรก ๆ เขียนเมื่อ พ.ศ. 2109 ในสมัย[[ราชวงศ์หมิง]]
 
== พยัญชนะ ==
บรรทัด 42:
** ฮกเกี้ยนถิ่นกัวลาลัมเปอร์
* สำเนียงเซี่ยเหมิน
** ไต้หวันฮกเกี้ยนไต้หวัน
 
=== [[ภาษาแต้จิ๋ว]] ===