ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาแล็กซี่เอ็กซ์เพรส 999"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kobbaka (คุย | ส่วนร่วม)
Kobbaka (คุย | ส่วนร่วม)
เนื้อหา
บรรทัด 30:
{{กล่องข้อมูล การ์ตูน/ส่วนท้าย}}
 
'''กาแล็คซี่เอ็กซ์เพรส 999''' หรือ '''รถด่วนอวกาศ 999''' ({{ญี่ปุ่น|銀河鉄道999|Ginga Tetsudō Surī Nain}} ; {{lang-en|Galaxy Express 999}}) เป็น[[การ์ตูนญี่ปุ่น]]ของ[[เลจิ มัตซึโมโตะ]] ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ [[พ.ศ. 2520]] จำนวน 21 เล่ม ต่อมาได้ถูกสร้างเป็น[[อนิเมะ]] [[ละครวิทยุ]] และ[[ละครเพลง]] ในประเทศไทยตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 2526]] โดยสำนักพิมพ์เสริมมิตรโดย ไม่มีลิขสิทธิ์ แต่พิมพ์ได้เพียง 2 เล่ม ก็เลิกไป ในปีเดียวกัน สำนักพิมพ์สมปรารถนานำไปจัดพิมพ์ต่อ โดยทีมงานชุดเดิมเป็นผู้จัดทำ จนถึงเล่ม 16 ก็หยุดพิมพ์โดยไม่จบเรื่อง <ref>[http://www.bangkokbookclub.com/product.detail.php?lang=th&cat=44994.47113&id=314056 Galaxy Express 999 จาก บางกอกบุคลัคภ์]</ref> <ref>[https://kajarp.wordpress.com/2011/09/10/galaxy999/ หนังสือการ์ตูน แกแล็คซี่ 999 รถด่วนอวกาศ ปีพศ.2527 ยังไม่มีลิขสิทธิ์ (Galaxy Express 999)]</ref> จากนั้น [[พ.ศ. 2549]] [[วิบูลย์กิจ|สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ]] ได้ซื้อลิขสิทธิ์จาก โชกักขุคัง แบบ Big Comic Gold ภาคแอนโดรเมดา มาพิมพ์เมื่อ [[พ.ศ. 2549]] จำนวนครบ 14 เล่ม จบที่ตอน "สถานีปลายทาง" ในปีพ.ศ.2554<ref>[https://kajarp.wordpress.com/2011/09/05/galaxy-express-999-thai/ กาแล็กซี่ เอ็กซ์เพรส 999 เล่ม 1-14 จบภาคแอนโดรเมดา (Galaxy Express 999 Thai)]</ref> แล้วก็พิมพ์ต่อเนื่องภาค Eternal Edition เล่ม 15-21 ครบที่ปีพ.ศ.2557 อวสาน จบที่ตอน "นักเดินทางแห่งหัวใจ" เป็นเด็กผู้ชายคนใหม่ เดินทางไปกับรถด่วนอวกาศสาย 1000
 
คาดว่า เลจิ มัตซึโมโตะ เขียนเรื่องนี้โดยได้รับแรงบันดาลใจจาก หนังสือวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง "'''[[รถไฟสายทางช้างเผือก]]'''"( 銀河鉄道の夜 ) เขียนโดย [[เค็นจิ มิยาซาวะ]] ตีพิมพ์ครั้งแรกปี พ.ศ. 2477 (เป็นการพบต้นฉบับงานเขียนหลังจากผู้ประพันธ์เสียชีวิตในปี พ.ศ.2476 แล้วนำมาจัดพิมพ์)
การ์ตูนซีรีส์โทรทัศน์เรื่องนี้ เคยนำมาฉายออกอากาศในเมืองไทยเป็นครั้งแรก ประมาณ ปี พ.ศ. 2526 โดย[[ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]] <ref>https://web.facebook.com/classiccorner80s/posts/1426655697386129?__tn__=-R</ref> โดยใช้ชื่อตามสมัยนิยมในสมัยนั้นว่า "แกแล็คซี่ 999" (อ่านว่า แก-แล็ค-ซี่-เก้า-เก้า-เก้า) นำทีมพากย์เสียงภาษาไทยโดยทีมพากย์ของช่อง 9 ในสมัยนั้น นำทีมโดย "[[น้าต๋อยเซมเบ้]]"
 
การ์ตูนซีรีส์โทรทัศน์เรื่องนี้ เคยนำมาฉายออกอากาศในเมืองไทยเป็นครั้งแรก ประมาณ ปี พ.ศ. 2526 โดย[[ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]] <ref>https://web.facebook.com/classiccorner80s/posts/1426655697386129?__tn__=-R</ref> โดยใช้ชื่อตามสมัยนิยมในสมัยนั้นว่า "รถด่วนอวกาศ แกแล็คซี่ 999" (อ่านว่า แก-แล็ค-ซี่-เก้า-เก้า-เก้า) นำทีมพากย์เสียงภาษาไทยโดยทีมพากย์ของช่อง 9 ในสมัยนั้น นำทีมโดย "[[น้าต๋อยเซมเบ้]]"
 
== เนื้อเรื่อง ==
กาแล็คซี่เอ็กซ์เพรส 999 มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับโลกอนาคต '''โฮชิโนะ เท็ตสึโร่''' เด็กหนุ่มกำพร้าพ่อและครอบครัวยากจนมาก มองเห็นแม่ถูกหุ่นจักรกลในค่ำคืนหนึ่งที่หนาวเหน็บท่ามกลางหิมะตก เคาท์จักรกล และกลุ่มล่ามนุษย์เป็นงานอดิเรก สังหารแม่เท็ตสึโร่ไปต่อหน้าต่อตา เพื่อนำร่างกายมาไป[[สตัฟ]]เป็นเครื่องประดับของประดับบ้าน ก่อนตายแม่ได้สั่งเสียให้เท็ตสึโร่มุ่งหวังหาทางโดยสารไปกับรถด่วนอวกาศกาแล็คซี่ 999 เพื่อไปยังดาวที่จะเปลี่ยนร่างกายของตนให้ร่างกายจักรกลฟรี จะได้ไม่ต้องทนหนาวทนร้อน อดอยากทรมานอยู่กับความยากจน ความทุกข์ ความเจ็บป่วย และมีชีวิตที่เป็นเครื่องจักรอมตะ เพื่อกลับชิ้นส่วนไหนเสียก็เปลี่ยนได้ ทว่าตั๋วรถไฟขบวนนี้มีมูลค่าสูงมาก ไม่ใช่จะได้มาล้างแค้นให้แม่ง่าย เขาๆ ต่อมาเท็ตสึโร่ได้พบกับ '''เมเทล''' หญิงสาวลึกลับ ผู้ยื่นข้อเสนอช่วยให้เท็ตสึโร่ล้างแค้นสำเร็จ เท็ตสึโร่ พร้อมมอบตั๋วโดยสารรถด่วนอวกาศสาย 999 มุ่งสู่เพื่อเดินทางไปยังกาแล็กซี่อันโดรเมดา ปลายทางดาวจักรกล เพื่อที่จะเปลี่ยนร่างกายเนื้อเป็นเครื่องจักรที่นั่นจักรกลฟรี โดยมีข้อแม้ว่าเธอจะต้องร่วมเดินทางไปด้วย ระหว่างที่ผ่านไปยังดวงดาวต่าง ๆ ทั้งสองคนได้ผจญภัยหลายรูปแบบ ได้พบมนุษย์ และจักรกลมากมาย ทำให้เท็ตสึโร่ ค่อย ๆ เข้าใจคุณค่าความหมายของการมีชีวิต ความตาย จิตวิญญาน กายเลือดเนื้อกับร่างจักรกล พร้อมกับเฉลยความลึกลับของเมเทล ทีละน้อย
 
== อนิเมะและภาพยนตร์ ==
รถด่วนอวกาศ 999 ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ (อนิเมะ) และภาพยนตร์การ์ตูนสำหรับฉายในโรง หลายครั้ง โดยดัดแปลงเนื้อเรื่อง และตัวละคร แตกต่างกันออกไป ดังนี้
* '''Galaxy Express 999''' ([[อนิเมะ]])
: สร้างโดย [[โตเอแอนิเมชัน|โตเอ สดูดิโอ]] ฉายทาง[[ฟูจิทีวี]] ระหว่าง พ.ศ. 2521 - 2524 จำนวน 113 ตอน