ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติศาสตร์ทิเบต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matas satsoong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
:''ดูบทความหลักที่ [[ประเทศทิเบต]]''
[[ไฟล์:Tibet locator map (China).svg|thumb|right|250px|แผนที่[[เขตปกครองตนเองทิเบต]]ของ[[ประเทศจีน]]]]
'''ทิเบต''' ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่าง[[ประเทศจีน]]กับ[[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]] ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาติ แล้วก็ล่มสลายไปเพราะถูกจีนผนวกแต่ชาวทิเบตก็สู้เพื่อเอกราชถึงจะมีกองกำลังที่น้อยก็ตาม
 
== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ==
ชาวจีนและชาวทิเบต-พม่าดั้งเดิมอาจจะแยกออกจากกันเมื่อราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อชาวจีนเริ่มอพยพเข้าสู่ลุ่ม[[แม่น้ำแยงซีเกียง]] ในขณะที่ชาวทิเบตพม่าดั้งเดิมยังเป็นผู้ร่อนเร่ ชาวทิเบตแยกตัวออกจากชาวพม่าชัดเจน เมื่อราว พ.ศ. 943<ref>Van Driem, George "Tibeto-Burman Phylogeny and Prehistory: Languages, Material Culture and Genes". </ref> <ref>Bellwood, Peter & Renfrew, Colin (eds) Examining the farming/language dispersal hypothesis (2003) , Ch 19</ref>
เส้น 95 ⟶ 94:
 
ในสมัยของทะไลลามะองค์ที่ 5 มี[[มิชชันนารี]][[นิกายเยซูอิต]]สองคนเข้าไปถึงทิเบตแต่ไม่ประสบความสำเร็จในการเผยแพร่[[ศาสนาคริสต์]] มีมิชชันนารีกลุ่มอื่น ๆ เข้าไปในทิเบตด้วยเช่นกัน แต่ไม่ประสบความสำเร็จ
 
==การถูกรวมเข้ากับจีนครั้งที่สาม==
===ทิเบตภายใต้ราชวงศ์หมิง===
 
==การถูกรวมเข้ากับจีนครั้งที่สี่==
===ทิเบตในฐานะส่วนในหนึ่งของราชวงศ์ชิง===
{{main|ทิเบตภายใต้การปกครองของราชวงศ์ชิง}}