ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระดูกสันหลังคด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
มายเดียร์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
| deaths =
|alt=}}
'''กระดูกสันหลังคด''' ({{lang-en|scoliosis}}) เป็นภาวะทางการแพทย์ที่กระดูกสันหลังของบุคคลมีวงโค้งไปทางด้านข้าง<ref name="NIH2015">{{cite web|title=Questions and Answers about Scoliosis in Children and Adolescents|url=http://www.niams.nih.gov/health_info/scoliosis/|website=NIAMS|access-date=12 August 2016|date=December 2015|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20160825230043/http://www.niams.nih.gov/health_info/scoliosis/|archive-date=25 August 2016}}</ref> วงโค้งนั้นปกติมีรูปทรงเป็นตัว "S" หรือ "C" ในสามมิติ<ref name=NIH2015/><ref name=Il2019>{{cite journal | vauthors = Illés TS, Lavaste F, Dubousset JF | title = The third dimension of scoliosis: The forgotten axial plane | journal = Orthopaedics & Traumatology, Surgery & Research | volume = 105 | issue = 2 | pages = 351–59 | date = April 2019 | pmid = 30665877 | doi = 10.1016/j.otsr.2018.10.021 }}</ref> ในผู้ป่วยบางคน ระดับของส่วนโค้งมีความเสถียร แต่ก็มีบางคนที่ส่วนโค้งจะเพิ่มขึ้นตามเวลา กระดูกสันหลังคดแบบไม่รุนแรงตรงแบบไม่ก่อให้เกิดปัญหาใด แต่ผู้ป่วยรุนแรงภาวะดังกล่าวอาจรบวนรบกวนการหายใจ<ref name=GHR2013/><ref>{{cite journal | vauthors = Yang S, Andras LM, Redding GJ, Skaggs DL | title = Early-Onset Scoliosis: A Review of History, Current Treatment, and Future Directions | journal = Pediatrics | volume = 137 | issue = 1 | pages = e20150709 | date = January 2016 | pmid = 26644484 | doi = 10.1542/peds.2015-0709 }}</ref> และตรงแบบผู้ป่วยจะไม่เจ็บ<ref>{{cite journal | vauthors = Agabegi SS, Kazemi N, Sturm PF, Mehlman CT | title = Natural History of Adolescent Idiopathic Scoliosis in Skeletally Mature Patients: A Critical Review | journal = The Journal of the American Academy of Orthopaedic Surgeons | volume = 23 | issue = 12 | pages = 714–23 | date = December 2015 | pmid = 26510624 | doi = 10.5435/jaaos-d-14-00037 | url = https://semanticscholar.org/paper/028034e272b2be19cf36467ed424b74b2646cc46 }}</ref>
สาเหตุส่วนใหญ่ยังไม่ทราบ แต่เชื่อว่าเกิดจากปัจจัยพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมเกิดร่วมกัน ปัจจัยเสี่ยงได้แก่สมาชิกครอบครัวอื่นที่เป็น นอกจากนี้ยังอาจเกิดเนื่องจากภาวะอื่นเช่นกล้ามเนื้อหดเกร็ง [[อัมพาตสมองใหญ่]] กลุ่มอาการมาร์แฟน และเนื้องอกอย่าง[[นิวโรไฟโบรมาโตซิส]] การวินิจฉัยยืนยันได้จาก[[รังสีเอ็กซ์]] กระดูกสันหลังคดตรงแบบจำแนกเป็นเชิงโครงสร้างซึ่งส่วนโค้งนั้นเกิดขึ้นตลอดเวลา และเชิงหน้าที่ซึ่งกระดูกสันหลังพื้นเดิมยังปกติดี<ref name=NIH2015/>