ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซกา เมกาไดรฟ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8157307 โดย Tvcccpด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox information appliance
| name = เซก้ากา เจเนซิส/เมก้าไดรฟ์
| image = <!-- PLEASE DO NOT CHANGE THE IMAGES WITHOUT FURTHER DISCUSSION! --><div style="white-space: nowrap; border: #dadada solid 1px;">{{nowrap|[[ไฟล์:Sega-Mega-Drive-JP-Mk1-Console-Set.jpg|250px|The original Japanese Mega Drive]]<br>[[ไฟล์:Sega-Genesis-Mk2-6button.jpg|250px|Model 2 Genesis w/ 6-button controller]]}}</div>
| caption = '''บน:'''เมก้าไดรฟ์เดิม (ญี่ปุ่น) '''<br>ล่าง:''' เซก้ากา เจเนซิส โมเดล 2<br>
| manufacturer = [[เซก้ากา]]
| type = [[เครื่องเล่นวิดีโอเกม]]
| generation = [[เครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่สี่|ยุคที่สี่]]
| release date = {{Video game release|JP|29 ตุลาคม 1988|NA|14 สิงหาคม 1989|KOR|สิงหาคม 1990|PAL|กันยายน 1990|BRA|1 กันยายน 1990}}
| lifespan = {{plainlist|
* 1988–1997 (เซก้ากา)
* 1988–ปัจจุปัน (ทั้งหมด)}}
{{vgrelease|NA|Ongoing (AtGames)|EU|Ongoing (AtGames, [[Blaze Europe]])|BRA|Ongoing ([[Tectoy|Tec Toy]])}}
| discontinued = {{vgrelease|WW|1997 (เซก้ากา)|NA|1999 ([[Majesco Entertainment]])}}
| unitssold = {{plainlist|
* เซก้ากา: 30.75 ล้านเครื่อง
* Tec Toy: 3 ล้านเครื่อง
* Majesco: 1.5 ล้านเครื่อง<small> (projected)</small>}}
บรรทัด 27:
* Interlaced: 320x448, 256x448 (NTSC) or 320x480, 256x480 (PAL)}}
| topgame = ''[[โซนิคเดอะเฮดจ์ฮ็อก (วิดีโอเกม)|โซนิคเดอะเฮดจ์ฮ็อก]]'' (15 ล้านชุด)<ref name="GameTap">{{cite video |url=https://www.youtube.com/watch?v=7mFs2v7XM4o |title=Sonic the Hedgehog GameTap Retrospective Pt. 3/4 |publisher=[[GameTap]] |accessdate=2011-09-24 |date=2009-02-17 |time=1:25 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20160721184052/https://www.youtube.com/watch?v=7mFs2v7XM4o |archivedate=July 21, 2016 |df=mdy-all }} cf. {{cite magazine|title=Review: ''Sonic Jam''|work=[[Sega Saturn Magazine]]|issue=22|date=August 1997|p=68|quote=The original Megadrive game sold over 14 million copies.}}</ref>
| onlineservice = [[เซก้าเมก้าเน็ตกาเมก้าเน็ต]]<br>[[เซก้าชาเนลกาชาเนล]]<br>[[XBAND]]
| compatibility = [[มาสเตอร์ซิสเต็ม]]
| predecessor = มาสเตอร์ซิสเต็ม
| successor = [[เซก้ากา แซทเทิร์น]]
}}
'''เซก้ากา เมก้าไดรฟ์''' ({{ญี่ปุ่น|メガドライブ|Mega Doraibu}}) หรือ '''เซก้ากา เจเนซิส''' ({{lang-en|Sega Genesis}}) เป็น[[เครื่องเล่นวิดีโอเกม]][[เครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่สี่|16 บิต]]ที่พัฒนาและจัดจำหน่ายโดย[[เซก้ากา]] เมก้าไดรฟ์เป็นคอนโซลเครื่องที่สามของเซก้ากาและเป็นรุ่นต่อจากเครื่อง[[มาสเตอร์ซิสเต็ม]] เซก้ากาเปิดตัวคอนโซลเมก้าไดรฟ์ในญี่ปุ่นในปี 1988 ตามด้วยที่อเมริกาเหนือภายใต้ชื่อเจเนซิสในปี 1989 ในปี 1990 คอนโซลได้รับการจัดจำหน่ายในฐานะเมก้าไดรฟ์โดย Virgin Mastertronic ในยุโรป Ozisoft ในออสตราเลเซีย และ Tec Toy ในบราซิล ในเกาหลีใต้เครื่องเกมถูกจัดจำหน่ายโดย[[ซัมซุง]]ในชื่อ '''Super Gam*Boy''' และต่อมาคือ '''Super Aladdin Boy'''
 
ตัวเครื่องถูกออกแบบโดยทีมวิจัยและพัฒนาภายใต้การดูแลของ Hideki Sato และ Masami Ishikawa ฮาร์ดแวร์ถูกดัดแปลงมาจากบอร์ดอาเขต System 16 มีศูนย์กลางที่ตัวประมวลผลโมโตโรล่า 68000 ซึ่งเป็นซีพียู Zilog Z80 เป็นตัวควบคุมเสียง และระบบวิดีโอที่สนับสนุนฮาร์ดแวร์[[สไปรต์ (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)|สไปรต์]], ไทล์ และการเลื่อน เครื่องเกมสามารถเล่นเกมได้มากกว่า 900 เกมซึ่งสร้างโดยเซก้ากาและผู้จัดจำหน่ายที่สามที่หลากหลายและเล่นผ่านตลับเกม เมก้าไดรฟ์ได้รับประโยชน์จากอุปกรณ์เสริมหลายอย่างรวมถึง Power Base Converter เพื่อเล่นเกมมาสเตอร์ซิสเต็ม รวมถึงคอนโซลที่ได้รับสิทธิ์จากผู้จัดจำหน่ายบุคคลที่หนึ่งและที่สาม เซก้ากาได้สร้างบริการเครือข่ายสองแห่งเพื่อรองรับเมก้าไดรฟ์คือ[[เซก้าเมก้าเน็ตกาเมก้าเน็ต]]และ[[เซก้าชาเนลกาชาเนล]]
 
ในญี่ปุ่น แม้เครื่องเมก้าไดรฟ์จะไม่ค่อยดีนักเมื่อเทียบกับคู่แข่งหลักสองรายคือ[[ซูเปอร์แฟมิคอม|เครื่องซูเปอร์แฟมิคอม]]ของ[[นินเท็นโด]]และ[[พีซีเอนจิน|เครื่องพีซีเอนจิน]]ของเอ็นอีซี แต่ประสบความสำเร็จอย่างมากในอเมริกาเหนือ บราซิลและยุโรป การมีส่วนร่วมในความสำเร็จคือที่รวบรวมเกมตู้ที่พอร์ตลง, ความนิยมของซีรีส์ ''[[โซนิคเดอะเฮดจ์ฮ็อก]]'' ของเซก้ากา, แฟรนไชส์กีฬายอดนิยมหลายรายการและการตลาดสำหรับวัยรุ่นที่ก้าวร้าวซึ่งวางเครื่องเกมให้เป็นคอนโซลที่ยอดนิยมสำหรับวัยรุ่น การเปิดตัวซูเปอร์แฟมิคอมสองปีหลังจากที่เจเนซิสเปิดตัวส่งผลให้เกิดการต่อสู้อย่างดุเดือดเพื่อแย่งส่วนแบ่งการตลาดในสหรัฐและยุโรปซึ่งมักถูกเรียกโดยนักข่าวและนักประวัติศาสตร์ว่าเป็น "สงครามคอนโซล" เนื่องจากการต่อสู้ครั้งนี้ได้ดึงดูดความสนใจของอุตสาหกรรมวิดีโอเกมในหมู่ประชาชนทั่วไป เมก้าไดรฟ์และเกมที่มีชื่อเสียงที่สุดหลายเกมดึงดูดความสนใจทางกฎหมายเป็นอย่างมากในเรื่องที่เกี่ยวกับวิศวกรรมผันกลับและความรุนแรงในวิดีโอเกม การโต้เถียงที่เกี่ยวกับเกมที่มีความรุนแรงเช่น ''Night Trap'' และ ''Mortal Kombat'' ทำให้เซก้าก่อตั้งกาก่อตั้ง Videogame Rating Council ซึ่งเป็นผู้บุกเบิก[[คณะกรรมการจัดเรตสื่อซอฟต์แวร์บันเทิง]] และเครื่องเกมที่ต่อจากเครื่องเซก้ากา เมก้าไดรฟ์คือ [[เซก้ากา แซทเทิร์น]] ในปี 1994
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 45:
[[หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2540]]
[[หมวดหมู่:เครื่องเล่นวิดีโอเกม]]
[[หมวดหมู่:เซก้ากา]]
{{โครงวิดีโอเกม}}