ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน/การทับศัพท์ภาษาอาหรับ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Theo.phonchana (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 18:
4. การเขียนภาษาอาหรับ จะเขียนพยัญชนะจากขวาไปซ้าย และมีรูปสระที่อาจอยู่ข้างบนหรือข้างล่าง
 
5. พยัญชนะในภาษาอาหรับหลายตัวไม่มีเสียงในภาษาไทย จำเป็นจะต้องเลือกอักษรไทยที่มีรูปต่างกันมาเทียบเพื่อแสดงให้เห็นว่าพยัญชนะในภาษาอาหรับเหล่านั้นมีเสียงต่างกัน<ref group=#>ตัวพยัญชนะไทยที่มีอยู่ 44 ตัวนั้น เป็นตัวอักษรที่ใช้ร่วมกับอักษรที่ใช้เขียนภาษาบาลีสันสกฤต 34 ตัว อีก 10 ตัว เป็นพยัญชนะที่ไทยสร้างขึ้นเพื่อรองรับเสียงในภาษาไทย แต่ในระบบเสียงของภาษาไทยนั้นมีหน่วยเสียงพยัญชนะอยู่เพียง 21 หน่วยเสียง ดังนั้น จึงมีตัวพยัญชนะหลายตัวที่ใช้แทนเสียงเดียวกันเมื่อเป็นพยัญชนะต้น เช่น ข ฃ (เลิกใช้) ค ฅ (เลิกใช้) ฆ แทนเสียง {{IPA|/kʰ/}} ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ แทนเสียง {{IPA|/tʰ/}} ซ ศ ษ ส แทนเสียง {{IPA|/s/}} เป็นต้น
<br/>
อนึ่ง เนื่องจากภาษาไทยเป็นภาษาที่มีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ ตัวพยัญชนะจึงจัดเป็นอักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ำ ซึ่งมีผลต่อการออกเสียงตามระบบวรรณยุกต์ด้วย ในการทับศัพท์คำที่ไม่มีวรรณยุกต์ ให้ถือว่าอักษรสูง อักษรต่ำนั้นมิได้มีอิทธิพลต่อการออกเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ เช่น คำที่เขียนว่า ษะฮับ หรือ ซะมาอ์ พยางค์หน้าใช้อักษรต่างกันเพราะเป็นเสียงพยัญชนะต่างกันในภาษาอาหรับ แต่ไม่ได้ต่างกันที่วรรณยุกต์</ref> ดังนี้
บรรทัด 24:
:::{|border=0 cellspacing=0 cellpadding=6
|-valign="top"
|style="width: 1m;"|5.1<br/><br/>5.2<br/><br/>5.2<br/><br/>5.4<br/><br/><br/><br/>5.5<br/><br/>5.6<br/><br/>||style="width:1.2em;"|'''ด'''<br/>'''ฎ'''<br/>'''ต'''<br/>'''ฏ'''<br/>'''ค'''<br/>'''ฆ'''<br/>'''ซ'''<br/>'''ส'''<br/>'''ศ'''<br/>'''ษ'''<br/>'''ห'''<br/>'''ฮ'''<br/>'''ย'''<br/>'''ญ'''||style="width: 1.2em;"|=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=<br/>=||د ดาล {{IPA|/d/}}<br/>ض ฎ๊อด {{IPA|/dˤ/}}<ref group=#>สัญลักษณ์ {{IPA|/ˤ/}} ใช้แทนเสียงที่มีลักษณะโคนลิ้นสู่ผนังคอ (pharyngealization) หมายความว่า การออกเสียงนี้ต้องถอยโคนลิ้นลงไปใกล้ที่ผนังคอส่วนที่อยู่เหนือกล่องเสียงตรงลูกกระเดือก เสียง {{IPA|/d/}} กับเสียง {{IPA|/dˤ/}} ต่างกันที่เสียง {{IPA|/d/}} ออกเสียงคล้ายกับ ด ในภาษาไทย นั่นคือ ใช้ปลายลิ้นแตะที่โคนฟันเท่านั้น แต่เสียง {{IPA|/dˤ/}} ต้องถอยโคนลิ้นลงไปใกล้ที่ผนังคอด้วย</ref><br/> ت ตาอ์ {{IPA|/t/}}<br/> ط ฏออ์ {{IPA|/tˤ/}}<br/>خ คออ์ {{IPA|/x/}} หรือ {{IPA|/χ/}}<br/>غ ฆอยน์, เฆน {{IPA|/ɣ/}} หรือ {{IPA|/ʁ/}}<br/>ز ซัย(นฺ) {{IPA|/z/}} ظ ซออ์ {{IPA|/ðˤ/}} หรือ {{IPA|/zˤ/}} และ س ซีน {{IPA|/s/}} ในตำแหน่งพยัญชนะต้น<br/>س ซีน {{IPA|/s/}} ในตำแหน่งพยัญชนะท้าย<br/>ص ศ้อด {{IPA|/sˤ/}}<br/>ث ษาอ์ {{IPA|/θ/}} และ ذ ษาล {{IPA|/ð/}}<br/>ح หาอ์ {{IPA|/ħ/}} ในตำแหน่งพยัญชนะท้าย<br/>ح หาอ์ {{IPA|/ħ/}} ในตำแหน่งพยัญชนะต้น และ ه ฮาอ์ {{IPA|/h/}}<br/>ي ยาอ์ {{IPA|/j/}}<br/> ج ญีม {{IPA|/d͡ʒ/}}, {{IPA|/ɡ/}} ในตำแหน่งพยัญชนะต้น
|}
 
บรรทัด 36:
|}
 
:::7.2 คำที่มีเสียงพยัญชนะ ع อัยน์อยู่ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด (عْ (อัยน์ + สุกูน)) ซึ่งกำหนดให้ทับศัพท์เป็น อ์ หากมีพยัญชนะอื่นตามมา ให้เลื่อนเครื่องหมายทัณฑฆาตไปไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้าย เช่น
:::::::::{|border=0 cellspacing=0 cellpadding=6
|-valign="top"
บรรทัด 76:
:::และจะออกเสียงเป็น –อ เมื่อตามด้วยอลิฟ เช่น {{lang|ar|قَاعِدَة}} q{{unicode|'''ā'''}}idah ก'''อ'''อิดะฮ์ = หลักการ
 
9. การเขียนคำทับศัพท์ที่มี {{lang|ar|اَلْأَلْ}} (al) อยู่ข้างหน้า แม้ในอักษรโรมันจะเขียนโดยมีเครื่องหมายยัติภังค์คั่น เมื่อเขียนทับศัพท์ให้เขียนติดกัน เช่น
:::::::::{|border=0 cellspacing=0 cellpadding=6
|-valign="top"