ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 13:
เป็น{{nowrap |[[กลุ่มอาการ]]}}ที่เกิดกับบุคคลผู้กินยา{{nowrap |[[เบ็นโซไดอาเซพีน]]}}ไม่ว่าจะเพื่อรักษาหรือเพื่อ[[ยาเสพติด|เสพติด]] เกิดติดยา แล้วลดยาหรือหยุดยา
การเกิดติดยาแล้วตามด้วยผลคือกลุ่มอาการขาดยาโดยอาการบางอย่างอาจคงยืนเป็นปี{{nbsp}}ๆ อาจเกิดจากการกิน[[ยา]]ตาม[[แพทย์]]สั่ง
มีอาการเป็น[[การนอนไม่หลับ|ปัญหาการนอน]], {{nowrap |หงุดหงิด}}, ตึงเครียดและ[[วิตกกังวล]]ง่าย, เกิดตื่นตระหนก (panic attack), มือสั่น, ตัวสั่น, [[เหงื่อ]]ออก, ไม่มี[[สมาธิ]], สับสนและมีปัญหาทาง[[ประชาน]]/ความคิด, ปัญหา[[ความจำ]], คลื่นไส้และขย้อนแห้ง (dry retching), น้ำหนักลด, [[ใจสั่น]], [[ปวดหัว]], [[กล้ามเนื้อ]]ตึงและปวด, ปัญหา[[การรับรู้]]ต่าง{{nbsp}}ๆ, ประสาทหลอน, [[ชัก]], [[อาการโรคจิต]]<ref name=Petursson1994>{{cite journal | doi = 10.1111/j.1360-0443.1994.tb03743.x | title = The benzodiazepine withdrawal syndrome | year = 1994 | last1 = Petursson | first1 = H. | journal = Addiction | volume = 89 | issue = 11 | pages = 1455-9 | pmid = 7841856}}</ref>
และเสี่ยงฆ่าตัวตายเพิ่ม<ref name=Colvin2008/><ref name="Dodds2017"/>
(ดูหัวข้อ "[[#อาการ|อาการ]]" ต่อไปสำหรับรายการเต็ม)
บรรทัด 212:
== การรักษา ==
[[ไฟล์:Chlordiazepoxidetabletsgeneric.JPG|thumb|
chlordiazepoxide บางครั้งใช้แทน[[ไดแอซิแพม]]เพื่อรักษาอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีน
เหมือนกับไดแอซิแพม มันมี[[ครึ่งชีวิต]]ที่ยาว และมี[[เมแทบอไลต์]]ซึ่งมีฤทธิ์ระยะยาว<ref name="ashman2002"/><ref>{{cite book | last1 = Lal | first1 = R | last2 = Gupta | first2 = S | last3 = Rao | first3 = R | last4 = Kattimani | first4 = S | title = Substance Use Disorder | url = http://www.whoindia.org/en/Section20/Section22_1674.htm | accessdate = 2009-06-06 | year = 2007 | publisher = World Health Organization (WHO) | page = 82 | chapter = Emergency management of substance overdose and withdrawal | chapterurl = http://www.whoindia.org/LinkFiles/Mental_Health_&_substance_Abuse_Emergency_management_of_Substance_Overdose_and_Withdrawal-Manual_For_Nursing_Personnel.pdf | quote = Generally, a longer-acting benzodiazepine such as chlordiazepoxide or diazepam is used and the initial dose titrated downward | archive-url = https://web.archive.org/web/20100613203853/http://whoindia.org/LinkFiles/Mental_Health_%26_substance_Abuse_Emergency_management_of_Substance_Overdose_and_Withdrawal-Manual_For_Nursing_Personnel.pdf | archive-date = 2010-06-13 | url-status = dead }}</ref>
]]
บรรทัด 244:
{{cite journal | doi = 10.2165/0023210-200923010-00002 | title = Withdrawing Benzodiazepines in Primary Care | year = 2009 | last1 = Lader | first1 = Malcolm | last2 = Tylee | first2 = Andre | last3 = Donoghue | first3 = John | journal = CNS Drugs | volume = 23 | pages = 19-34 | pmid = 19062773 | issue = 1 | s2cid = 113206 }}</ref><ref>
{{cite journal | doi = 10.1017/S0264180100000412 | title = The natural history of tolerance to the benzodiazepines | year = 2009 | last1 = Higgitt | first1 = A. | last2 = Fonagy | first2 = P. | last3 = Lader | first3 = M. | journal = Psychological Medicine. Monograph Supplement | volume = 13 | pages = 1-55 | pmid = 2908516}}</ref>
* [[บูโพรพิออน]] ซึ่งใช้โดยหลักเป็น[[ยาแก้ซึมเศร้า]]และช่วยงดสูสูบบุหรี่ ห้ามใช้ในบุคคลที่เกิดอาการขาดยาจากเบ็นโซไดอาเซพีนหรือสารระงับประสาท-สารทำให้นอนหลับอื่น{{nbsp}}ๆ (เช่น แอลกอฮอล์) เพราะเสี่ยงชักสูงขึ้น<ref>{{cite web | title = Wellbutrin XL Prescribing Information | date = December 2008 | publisher = GlaxoSmithKline | url = http://us.gsk.com/products/assets/us_wellbutrinXL.pdf | accessdate = 2010-01-16 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20090326063052/http://us.gsk.com/products/assets/us_wellbutrinXL.pdf | archivedate = 2009-03-26 }}</ref>
* การให้เพิ่ม buspirone (ปกติเป็นยาแก้วิตกกังวล) ไม่พบว่าช่วยให้งดเบ็นโซไดอาเซพีนได้สำเร็จในอัตราสูงขึ้น<ref name="Voshaar2006"/>
* [[กาเฟอีน]]อาจทำให้อาการขาดยาแย่ลงเพราะเป็นยากระตุ้น<ref name=ashman2002 /> งานศึกษาในสัตว์อย่างน้อยงานหนึ่งแสดงว่า การเฟอีนควบคุมจุดรับเบ็นโซไดอาเซพีนที่หน่วยรับโดยส่วนหนึ่ง และทำให้ชักง่ายขึ้น (ลดขีดเริ่มชัก)<ref>{{cite journal | doi = 10.1016/0091-3057(87)90133-X | title = Coincidence of seizure susceptibility to caffeine and to the benzodiazepine inverse agonist, DMCM, in SWR and CBA inbred mice | year = 1987 | last1 = Seale | first1 = Thomas W. | last2 = Carney | first2 = John M. | last3 = Rennert | first3 = Owen M. | last4 = Flux | first4 = Marinus | last5 = Skolnick | first5 = Phil | journal = Pharmacology Biochemistry and Behavior | volume = 26 | issue = 2 | pages = 381-7 | pmid = 3575358 | s2cid = 30168114 }}</ref>
บรรทัด 258:
</ref> ซึ่งแสดงนัยว่า ฟลูมาเซนิลอาจมีบทบาทในการรักษา{{nowrap |อาการ}}ขาด{{nowrap |เบ็นโซไดอาเซพีน}}แบบยืดเยื้อ
 
::มีงานศึกษาปี{{nbsp}}1992 ถึงผลของฟลูมาเซนิลต่ออาการขาดเบ็นโซไดอาเซพีนที่ยืดเยื้อ ผู้ร่วมการทดลองเลิกใช้เบ็นโซไดอาเซพีนเป็นเวลาระหว่าง 1{{nbsp}}เดือนถึง 5{{nbsp}}ปี แต่ทั้งหมดรายงานว่ามีอาการขาดยาในระดับต่าง{{nbsp}}ๆ กันที่ยืดเยื้อ อาการรวมทั้งความคิดไม่แจ่มใส เหนื่อย อาการทางกล้ามเนื้อเช่นตึงคอ บุคลิกวิปลาส ตะคริว สั่น และปัญหาาการรับรู้ที่เฉพาะต่ออาการขาดเบ็นโซไดอาเซพีน คือ การรู้สึกเหมือนถูกเข็มทิ่ม ผิวไหม้ เจ็บ และความรู้สึกบิดเบียนบิดเบือนเกี่ยวกับร่างกายที่เป็นอัตวิสัย การให้ฟลูมาเซนิลทางเส้นเลือดระหว่าง {{nowrap |0.2-2 [[ม.ก.]]}} พบว่าลดอาการเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ได้[[ยาหลอก]] นี่น่าสนใจเพราะสารปฏิปักษ์ต่อหน่วยรับเบ็นโซไดอาเซพีนเป็นยาที่ไม่มีผลทางคลินิก ผู้วิจัยเสนอว่า คำอธิบายที่เป็นไปได้มากสุด็คือการใช้เบ็นโซไดอาเซพีนในอดีตแล้วเกิดชินยา เป็นการล็อกโครงรูป (conformation) ของคอมเพล็กซ์หน่วยรับ GABA-BZD ให้อยู่ในรูปแบบ inverse agonist conformation และดังนั้นสารปฏิปักษ์คือฟลูมาเซนิลจึงแก้ให้หน่วยรับกลับมาเป็นเหมือนเดิม ในงานศึกษานี้ ฟลูมาเซนิลพบว่าเป็นวิธีการรักษาอาการขาดยา{{nowrap |เบ็นโซไดอาเซพีน}}แบบยืดเยื้ออย่างมีประสิทธิผล แต่ก็ต้องทำงานวิจัยเพิ่มขึ้น<ref>{{cite journal | doi = 10.1177/026988119200600303 | title = A pilot study of the effects of flumazenil on symptoms persisting after benzodiazepine withdrawal | year = 1992 | last1 = Lader | first1 = M. H. | last2 = Morton | first2 = S. V. | journal = Journal of Psychopharmacology | volume = 6 | issue = 3 | pages = 357-63 | pmid = 22291380 | s2cid = 23530701 }}
</ref> งานศึกษาปี{{nbsp}}1997 ใน[[ประเทศสวีเดน]]พบผลเช่นกันในคนไข้ที่มีอาการขาดยาแบบยืดเยื้อ<ref name="Saxon1997">{{cite journal | doi = 10.1007/s002130050278 | title = Effects of flumazenil in the treatment of benzodiazepine withdrawal - a double-blind pilot study | year = 1997 | last1 = Saxon | first1 = L. | last2 = Hjemdahl | first2 = P. | last3 = Hiltunen | first3 = A. J. | last4 = Borg | first4 = S. | journal = Psychopharmacology | volume = 131 | issue = 2 | pages = 153-60 | pmid = 9201803 | s2cid = 19374966 }}</ref>
 
บรรทัด 284:
{{cite journal | doi = 10.3109/10401239309148974 | title = Phenobarbital Versus Clonazepam for Sedative-Hypnotic Taper in Chronic Pain Patients: A Pilot Study | year = 1993 | last1 = Sullivan | first1 = Mark | last2 = Toshima | first2 = Michelle | last3 = Lynn | first3 = Pamela | last4 = Roy-Byrne | first4 = Peter | journal = Annals of Clinical Psychiatry | volume = 5 | issue = 2 | pages = 123-8 | pmid = 8348204}}</ref><ref>
{{cite web | url = http://www.benzo.org.uk/can-drb.htm | title = Dr Ray Baker's Article on Addiction: Benzodiazepines in Particular | accessdate = 2009-02-14 | author = Baker, Ray | archiveurl = https://web.archive.org/web/20200729082230/https://www.benzo.org.uk/can-drb.htm | archivedate = 2020-07-29 | url-status = live}}</ref>
* pregabalin (ปกติใช้รักษา[[โรคลมชัก]] ความเจ็บปวดเหตุโรคเส้นประสาท [[ไฟโบรไมอัลเจีย]] และโรควิตกกังวลแบบเป็นไปทั่ว) อาจช่วยลดความรุนแรงของอาการขาดยา{{nowrap |เบ็นโซไดอาเซพีน}}<ref name="Oulis-2010">{{Cite journal | last1 = Oulis | first1 = P. | last2 = Konstantakopoulos | first2 = G. | title = Pregabalin in the treatment of alcohol and benzodiazepines dependence. | journal = CNS Neuroscience & Therapeutics | volume = 16 | issue = 1 | pages = 45-50 | year = 2010 | doi = 10.1111/j.1755-5949.2009.00120.x | pmid = 20070788 | pmc = 6493856 }}
</ref> และลดความเสี่ยงการกลับไปติดยาอีก<ref name="Oulis-2012">{{Cite journal | last1 = Oulis | first1 = P. | last2 = Konstantakopoulos | first2 = G. | title = Efficacy and safety of pregabalin in the treatment of alcohol and benzodiazepine dependence. | journal = Expert Opinion on Investigational Drugs | volume = 21 | issue = 7 | pages = 1019-29 | date = Jul 2012 | doi = 10.1517/13543784.2012.685651 | pmid = 22568872 | s2cid = 24354141 }}</ref>
* การให้ฮอร์โมน[[โพรเจสเทอโรน]]พบว่า ไม่ได้ผลรักษาอาการขาดเบ็นโซไดอาเซพีน<ref name="Denis-2006"/>
บรรทัด 336:
คนน้อยคนแต่มีจำนวนสำคัญผู้กำลังเลิกยาเบ็นโซไดอาเซพีน อาจถึง{{nowrap |ร้อยละ 10-15}} จะประสบกับอาการขาดยาแบบยืดเยื้อซึ่งบางครั้งอาจรุนแรง
อาการรวมทั้งเสียงในหู<ref name=tinnitus1991/><ref>{{cite journal | doi = 10.1097/00004714-198810000-00010 | title = Protracted Tinnitus after Discontinuation of Long-Term Therapeutic Use of Benzodiazepines | year = 1988 | last1 = Busto | first1 = Usoa | last2 = Fornazzari | first2 = Luis | last3 = Naranjo | first3 = Claudio A. | journal = Journal of Clinical Psychopharmacology | volume = 8 | issue = 5 | pages = 359-362 | pmid = 2903182}}</ref>,
[[อาการโรคจิต]], ความบกพร่องทาง[[ประชาน]]/ความคิด, ปัญหาเกี่ยวกับทางเดินอาหาร, [[การนอนไม่หลับ]], ความรู้สึกทางสัมผัสเพี้ยน{{Efn-ua | name = paraesthesia}} (เช่นเหน็บชา), ความเจ็บปวด (ที่แขนขาหรืออวัยวะส่วนปลาย{{nbsp}}ๆ), ปวดกล้ามเนื้อ, อ่อนแรง, ตึงเครียด, สั่นอย่างเจ็บปวด, สั่นเป็นคราว{{nbsp}}ๆ, การกระตุก, เวียนหัว และหนังตากระตุกหรือปิดเกร็ง (blepharospasm)<ref name="Ashton2004"/>
ซึ่งอาจเกิดแม้เมื่อไม่มีประวัติมีอาการเหล่านี้{{nbsp}}ๆ มาก่อน
เสียงในหูที่เกิดเมื่อลดหรือเลิกยาจะหายไปเมื่อเริ่มกินยาใหม่
บรรทัด 384:
 
=== คนชรา ===
งานศึกษาหนึ่งในคนชราพบว่า คนแก่ที่ติดยาเบ็นโซไดอาเซพีนสามารถเลิกได้โดยมีภาวะแทรกซ้อนน้อย และอาจทำให้นอนหลับและทำงานทาง[[ประชาน]]ได้ดีขึ้น
หลังจากเลิกยาสำเร็จ {{nowrap |52 สัปดาห์}} {{nowrap |ร้อยละ 22}} มีสถานะทางประชานที่ดีขึ้น และเข้าสังคมได้ดีขึ้น
ส่วนผู้ที่คงใช้ยามีสมรรถภาพทางประชานที่ลดลงในระดับ{{nowrap |ร้อยละ 5}} ซึ่งเร็วกว่าความเสื่อมที่พบในความชราธรรมดา{{nbsp}}ๆ ซึ่งแสดงนัยว่า การใช้ยานานเท่าไร ก็ทำให้มีผลไม่ดีทางประชานเท่านั้น
บรรทัด 393:
อาการหลายอย่างดีขึ้นระหว่างสัปดาห์{{nowrap |ที่ 24-52}} รวมทั้งนอนหลับดีขึ้นโดยสมรรถภาพทางประชานและการทำงานหลายอย่างก็ดีขึ้นด้วย
แต่สมรรถภาพทางประชานบางอย่างที่ไวต่อทั้งเบ็นโซไดอาเซพีนและอายุ เช่น [[ความจำอาศัยเหตุการณ์]] (episodic memory) ไม่ดีขึ้น
แต่ผู้ทำงานวิจัยก็ได้อ้างงานศึกษาในคนไข้ที่มีวัยอ่อนกว่าซึ่งเมื่อติดตามที่ {{nowrap |3.5 ปี}} ก็ไม่ปรากฏปัญหาความจำ จึงคาดว่า การทำงานทางความจำบางอย่างต้องใช้เวลาคืนสภาพจากการใช้เบ็นโซไดอาเซพีนเป็นเวลานานาน และสมรรถภาพทางประชานของคนชราอาจดีขึ้นอีกเกิน {{nowrap |52 สัปดาห์}}หลังจากเลิกยา
เหตุผลที่ใช้เวลาถึง {{nowrap |24 อาทิตย์}}ก่อนจะดีขึ้นหลังเลิกยาก็เพราะสมองต้องใช้เวลาปรับตัวกับภาวะแวดล้อมที่ไร้ยา<ref name="Curran2003"/>
ดังนั้น ในอาทิตย์ที่{{nbsp}}24 จึงพบว่าอาการดีขึ้นอย่างสำคัญ รวมทั้งประมวลข้อมูลได้แม่นยำยิ่งขึ้น เทียบกับผู้ที่คงใช้ยาซึ่งแย่ลง
ยังพบอาการที่ดีขึ้นอีกในอาทิตย์ที่{{nbsp}}52 รวมทั้งงดยาได้ดีขึ้น
คนกินยาที่อายุน้อยกว่าแม้ประสบปัญหาความจำเมื่อจินตนาการเกี่ยวกับปริภูมิทางตารูปใน 2-3-4 มิติ (visual spatial memory) แต่ก็ไม่อ่อนแอต่อปัญหาทางประชานเท่าคนชรา<ref name="Curran2003"/>
 
ปฏิกิริยาที่ว่องไวกว่าก็พบด้วยในคนชราที่งดยาเมื่อติดตามที่{{nbsp}}{{nowrap |52 สัปดาห์}}