ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
สักวาดาวจรเข้ก็เหหก
{{ฉันทลักษณ์ไทย}}
ศีรษะตกหันหางขึ้นกลางหาว
{{ความหมายอื่น|กลอน}}
เป็นวันแรมแจ่มแจ้งด้วยแสงดาว​
น้ำค้างพราวปรายโปรยโรยละออง
ลมเรื่อยเรื่อยเฉื่อยฉิวต้องผิวเนื้อ
ความหนาวเหลือทานทนกมลหมอง
สกุณาดุเหว่าก็เร่าร้อง
พอแสงทองส่องฟ้าขอลาเอย”
'''กลอน''' เป็นลักษณะคำประพันธ์ไทยที่[[ฉันทลักษณ์ (กวีนิพนธ์ไทย)|ฉันทลักษณ์]]ประกอบด้วยลักษณะบังคับ 3 ประการคือ คณะ จำนวนคำ และสัมผัส<ref name=kapkanlon>กรมศิลปากร. '''ครรภครรลองร้อยกรองไทย'''. กรุงเทพฯ, 2545.</ref> ไม่มีบังคับเอกโทและ[[ครุลหุ]]<ref name=kamchai>กำชัย ทองหล่อ. '''หลักภาษาไทย'''. รวมสาส์น (1977) : กรุงเทพฯ, 2545.</ref> เชื่อกันว่าเป็นคำประพันธ์ท้องถิ่นของไทยแถบภาคกลางและภาคใต้ โดยพิจารณาจากหลักฐานใน[[วรรณกรรม]]ทั้งวรรณกรรมลายลักษณ์(เป็นตัวหนังสือ) และวรรณกรรมมุขปาฐะ(เป็นคำพูดที่บอกต่อกันมาไม่มีการจดบันทึก) โดยวรรณกรรมที่แต่งด้วยกลอนเก่าแก่ที่สุดคือ เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา และเพลงยาว ณ พระที่นั่งจันทรพิศาล กวีแต่งในสมัยอยุธยาตอนปลาย ก่อนหน้านั้นกลอนคงอยู่ในรูปแบบวรรณกรรมมุขปาฐะเป็นร้อยกรองชาวบ้านเช่น บทร้องเล่น บทกล่อมเด็ก เพลงชาวบ้าน เป็นต้น
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กลอน"