ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎สถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง: ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 333:
วันที่ 17 ตุลาคม ผู้ชุมนุมซึ่งตำรวจประเมินว่ามีจำนวนประมาณ 23,000 คน จัดการชุมนุมหลายจุดในกรุงเทพมหานคร ทั้งที่ระบบขนส่งมวลชนถูกรัฐบาลสั่งปิดและมีผลกระทบต่อผู้โดยสารหลายแสนคน<ref>{{cite news |title=Protesters pick 3 sites as mass transit shut down |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/general/2003711/protesters-pick-3-sites-as-mass-transit-shut-down |accessdate=17 October 2020 |work=Bangkok Post}}</ref> การชุมนุมในวันที่ 18 ตุลาคม จัดที่[[แยกอโศกมนตรี]] [[แยกบางนา]] และ[[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]]เป็นหลัก เป็นการชุมนุมโดยสงบและไม่ยืดเยื้อ ด้านผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติในฐานะผู้อำนวยการ กอร.ฉ. ใช้อำนาจสั่งปิดสถานีรถไฟฟ้าและสกายวอล์คในบริเวณดังกล่าว<ref>{{cite news |title=ผู้ชุมนุมที่อนุสาวรีย์ชัยฯ เริ่มวิจารณ์สถาบันฯ และรัฐบาล |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-54589445 |accessdate=18 October 2020 |work=BBC ไทย |date=18 October 2020 |language=th}}</ref> ตำรวจระบุว่ามีผู้ชุมุนมประมาณ 6,000 คนตามแยกต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งยังไม่รวมการประท้วงในอีกหลายจังหวัด<ref>{{Cite web|last=|first=|date=|title=House mulls meet to end unrest|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2004155/house-mulls-meet-to-end-unrest|url-status=live|archive-url=|archive-date=|access-date=2020-10-19|website=Bangkok Post}}</ref> วันที่ 21 ตุลาคม กลุ่มคณะราษฎรเคลื่อนขบวนจาก[[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]]ไปยังทำเนียบรัฐบาลเพื่อยื่นข้อเรียกร้องให้ประยุทธ์ลาออกจากตำแหน่ง แต่ถูกตั้งเครื่องกีดขวางอย่างแน่นหนาและมีฝ่ายตรงข้ามพยายามขวาง<ref>{{cite news |title=เกาะติดการชุมนุมกลุ่ม "ราษฎร" เคลื่อนขบวนไปทำเนียบฯ |url=https://www.bbc.com/thai/live/thailand-54629766 |accessdate=21 October 2020 |work=BBC ไทย}}</ref> เกิดเหตุการณ์กลุ่มชายชุดเหลืองที่ประกาศตนว่าสนับสนุนสถาบันพระมหากษัตริย์ก่อเหตุฝ่าแนวกั้นตำรวจเข้าทำร้ายกลุ่มนักศึกษาใน[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ทำให้นักศึกษาต้องย้ายสถานที่ชุมนุม ซึ่งกลุ่มชายชุดเหลืองประกาศว่าเป็นชัยชนะ<ref>{{cite news |title=ชุลมุน! เสื้อเหลืองป่วน ฝ่าแนวกั้น ตร. บุกขับไล่ เยาวชนราษฎร ออกจาก ม.รามคำแหง |url=https://www.matichon.co.th/politics/news_2406542 |accessdate=21 October 2020 |work=มติชนออนไลน์ |date=21 October 2020 |language=th}}</ref><ref>{{cite news |title=ด่วนปะทะกันแล้ว!! ม็อบอาชีวะ-กลุ่มราษฏร ไล่หวดกันวุ่นหน้ารามคำแหงฯ |url=https://www.naewna.com/politic/526651 |accessdate=21 October 2020 |work=แนวหน้า |language=th}}</ref><ref>{{cite news |title=ม.รามเดือด กลุ่มปกป้องสถาบัน เผชิญหน้า-ปะทะ กลุ่มรามคำแหงปชต. ตร.ห้ามวุ่น |url=https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_5159654 |accessdate=21 October 2020 |work=ข่าวสด |date=21 October 2020 |language=th}}</ref> มีนักศึกษาได้รับบาดเจ็บ 1 คนและเข้าแจ้งความดำเนินคดี<ref name="mgr2210">{{cite news |title=เครือข่ายรามคำแหงฯ เข้าแจ้งความกลุ่มเสื้อเหลืองทำร้ายร่างกาย |url=https://mgronline.com/politics/detail/9630000107944 |accessdate=22 October 2020 |work=Manager Online |date=21 October 2020 |language=th}}</ref> วันเดียวกัน ประยุทธ์ออกแถลงการณ์ทางโทรทัศน์ขอให้ทั้งสองฝ่ายลดความรุนแรงและแก้ไขสถานการณ์ผ่านกระบวนการรัฐสภา ขอให้ผู้ประท้วงลดคำพูดที่ "ก่อให้เกิดความแตกแยก"<ref name=paddock_21102020>{{cite news|first1=Richard C.|last1=Paddock|first2=Muktita|last2=Suhartono|title=Thailand’s Leader Offers End to Crackdown on Pro-Democracy Protesters|date=21 October 2020|newspaper=The New York Times|url=https://www.nytimes.com/2020/10/21/world/asia/thailand-protest-prayuth-emergency.html|accessdate=22 October 2020}}</ref><ref name=bp_22102020>{{cite news|title=PM offers end to 'emergency'|date=22 October 2020|newspaper=Bangok Post|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2006015/pm-offers-end-to-emergency|accessdate=22 October 2020}}</ref> วันที่ 22 ตุลาคม ประยุทธ์ออกประกาศยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในกรุงเทพมหานคร<ref>{{cite news|title=State of emergency ends in Bangkok|date=22 October 2020|newspaper=Bangkok Post|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2006459/state-of-emergency-ends-in-bangkok|accessdate=22 October 2020}}</ref><ref>{{cite news|first=Helen|last=Regan|title=Thailand's Prime Minister lifts state of emergency. Protesters give him three days to resign|date=22 October 2020|website=CNN.com|url=https://edition.cnn.com/2020/10/22/asia/thailand-protests-state-of-emergency-intl-hnk/index.html|accessdate=22 October 2020}}</ref>
 
วันที่ 24 ตุลาคม ผู้ชุมนุมพบว่าประยุทธ์ไม่ลาออกจากตำแหน่งตามกำหนด 3 วัน จึงได้ยกระดับการชุมนุม โดยจัดการชุมนุมอีกครั้งในวันรุ่งขึ้น (25 ตุลาคม) ที่[[แยกราชประสงค์]]<ref>{{Cite web|url=https://news.ch7.com/detail/445500|title=แกนนำกลุ่มราษฎร ประกาศยกระดับการชุมนุมเย็นวันนี้|author=[[ฝ่ายข่าว ช่อง 7 เอชดี]]|website=news.ch7.com|date=25 ตุลาคม 2563|accessdate=27 ตุลาคม 2563}}</ref> โดยในวันนั้นมีผู้ที่สนใจร่วมฟังและสลับกับการปราศรัยหลายคน<ref>{{Cite web|url=https://news.thaipbs.or.th/content/297736|title=ปิด ถ.ราชดำริ เริ่มชุมนุมแยกราชประสงค์|author=[[ไทยพีบีเอส]]|website=news.thaipbs.or.th|date=25 ตุลาคม 2563|accessdate=27 ตุลาคม 2563}}</ref> และวันที่ 26 ตุลาคม ได้เดินขบวนจาก[[แยกสามย่าน]]ไปยัง[[สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันประจำประเทศไทย]] [[ถนนสาทรใต้]] เพื่อยื่น 4 ข้อสงสัยเกี่ยวกับ[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดย[[เฮโกะ มาส]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของเยอรมนีได้ระบุผ่านล่ามโดยสรุปว่า ได้ติดตามสิ่งที่พระองค์ทำระหว่างประทับอยู่ในเยอรมนีมานานพอสมควรแล้ว และยังคงตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง หากพบว่ามีการทำผิดกฎหมายจะดำเนินการทันที<ref>{{Cite web|url=https://prachatai.com/journal/2020/10/90147|title=ประมวล #ม็อบ26ตุลา ถาม 4 ข้อสงสัยต่อสถานทูตเยอรมันเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์|author=[[ประชาไท]]|website=prachatai.com|date=26 ตุลาคม 2563|accessdate=27 ตุลาคม 2563}}</ref>{{clear}}
 
โดยหาก{{clear}}
 
== ยุทธวิธีและวาระ ==