ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรูวิชั่นส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mix.natthawut (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 14:
}}
 
'''ทรูวิชั่นส์''' ({{lang-en|TrueVisions}}) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า '''[[ยูบีซี]]''' ({{lang|en|UBC}}) เป็น[[สถานีโทรทัศน์]]ระบบบอกรับเป็นสมาชิก {{cn-span|รายใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศไทย]]}} บริหารงานโดย [[ทรูวิชั่นส์|บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)]] ในเครือ [[ทรู คอร์ปอเรชั่น|บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน)]] มีคำขวัญว่า '''ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า''' สำนักงานตั้งอยู่ที่ อาคารทิปโก้ [[ถนนพระรามที่ 6]] แขวงพญาไท [[เขตพญาไท]] [[กรุงเทพมหานคร]] ปัจจุบันมี '''สุภกิต เจียรวนนท์''' เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ '''อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา''' เป็นกรรมการผู้จัดการ<ref>http://www3.truecorp.co.th/investor/entry/13</ref>
 
== ประวัติ ==
=== [[ไอบีซี]]และ[[ยูทีวี]] ===
ทรูวิชันส์ เดิมนั้นมีชื่อว่า '''[[ยูบีซี]]''' ซึ่งเกิดจากการรวมกิจการ ของผู้ให้บริการ[[เคเบิลทีวี]] 2 รายใหญ่ในประเทศไทย คือ'''[[ไอบีซี]]''' และ'''[[ยูทีวี]]'''
=== ไอบีซี ===
* '''บริษัท [[ไอบีซี|อินเตอร์เนชันแนล บรอดคาสติง คอร์ปอเรชันส์]] จำกัด''' ('''(ไอบีซี)''') - เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร]] ประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท [[ชินวัตร คอมพิวเตอร์]] จำกัด กับ[[วิลเลียม ไลล์ มอนซัน]] นักธุรกิจ[[ชาวอเมริกัน]] ผู้บริหารบริษัท [[เคลียร์วิว ไวร์เลส]] จำกัด เข้ารับสัมปทานธุรกิจโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็นสมาชิกจาก [[อสมท|องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]] ([[อ.ส.ม.ท.]]) โดยให้บริการผ่านคลื่น, [[บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง]] ([[เอ็มเอ็มดีเอส]]) ผ่านระบบ[[ไมโครเวฟ]] และจานรับสัญญาณ[[โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ]]เครือข่าย[[เคยู-แบนด์]] ทั้งระบบ[[โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก|แอนะล็อก]]และ[[โทรทัศน์ระบบดิจิทัล|ดิจิทัล]] โดยให้บริการทั่วประเทศ เริ่มตั้งแต่วันที่ [[17 เมษายน]] [[พ.ศ. 2532]] ระยะเวลาสัมปทาน 20 ปี โดยให้บริการทั่วประเทศ จนถึงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2552 ภายหลังได้ขยายระยะเวลาสัมปทานไปอีก 5 ปี จนถึงวันที่ [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2557]]
 
=== ยูทีวี ===
* '''บริษัท [[ยูทีวี|ยูนิเวอร์แซล เทเลวิชัน เคเบิล เน็ตเวิร์ก]] จำกัด''' ('''(ยูทีวี)''') - เป็นบริษัทในกลุ่ม[[เทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชัน]] (ปัจจุบันคือ บมจ.[[ทรู คอร์ปอเรชั่น|บมจ.ทรู คอร์ปอเรชัน]]) เข้ารับสัมปทานธุรกิจโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็นสมาชิกจาก [[อ.ส.ม.ท.]] โดยให้บริการผ่านสาย[[เคเบิลใยแก้วนำแสง]] และ[[โคแอกเชียล]] ทั้งระบบ[[โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก|แอนะล็อก]] และ[[โทรทัศน์ระบบดิจิทัล|ดิจิทัล]] โดยให้บริการเฉพาะในเขต[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] และปริมณฑล ตั้งแต่วันที่ [[12 พฤศจิกายน|1 มกราคม พ.ศ. 2538]] จนถึงวันที่ [[31 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2566|พ.ศ. 2562]] ระยะเวลาสัญญาสัมปทานรวม 25 ปี
 
=== การรวมกิจการเป็น[[ยูบีซี]] ===
เนื่องจากเกิด'''[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540]]''' ทำให้[[ไอบีซี]]และ[[ยูทีวี]]ต้องหาทางอยู่รอด โดยการควบรวมกิจการเพื่อลดค่าใช้จ่าย<ref>http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=4606</ref> โดยสามารถใช้ทรัพยากร ของบริษัทในเครือได้อย่างเต็มที่ คือทั้งระบบสัญญาณผ่าน[[ดาวเทียมไทยคม]] และบริการเอ็มเอ็มดีเอสผ่านระบบไมโครเวฟ ของ[[อินทัช โฮลดิ้งส์|กลุ่มชินวัตร]] (ในนามบริษัทยูบีซี (ปัจจุบันเป็น บมจ.ทรูวิชั่นส์)) (แต่ภายหลังออกอากาศด้วยระบบดังกล่าวเพียง 2 ช่องคือ [[ทีเอ็นเอ็น|นิวส์ 24]] และ[[ทรูซีเล็กต์|ช็อปปิงแอตโฮม]] ซึ่งสามารถรับชมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ) และระบบเคเบิลใยแก้วนำแสง กับโคแอกเชียล ของกลุ่มเทเลคอมเอเชีย (ในนามบริษัท UBC Cable (ปัจจุบันเป็น บมจ.ทรูวิชั่นส์ เคเบิล))
 
โดยในราวเดือน [[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2541]] [[ไอบีซี]]เป็นฝ่ายซื้อกิจการ[[ยูทีวี]] โดยวิธีการแลกหุ้น และเปลี่ยนชื่อเป็น '''บริษัท [[ยูบีซี|ยูไนเต็ด บรอดคาสติง คอร์ปอเรชัน]] จำกัด''' ''' (ยูบีซี) ''' และออกอากาศด้วยชื่อยูบีซี อย่างเป็นทางการ ตั้งแต่วันพุธที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2541]] โดยในยุคแรก ออกอากาศผ่าน[[ดาวเทียม]][[ไทยคม (บริษัท)|ไทยคม 1]] (แต่ปัจจุบันใช้ดาวเทียม[[ไทยคม (บริษัท)|ไทยคม 5]]) แต่หลังจากนั้นไม่นาน กลุ่มชินวัตรก็ขายหุ้นยูบีซีทั้งหมด ให้กับ[[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] บริษัทแม่ของ[[เทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชัน|เทเลคอมเอเชีย]] ขณะเดียวกันก็ดำเนินการและจดทะเบียน เข้าซื้อขายใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] โดยใช้ชื่อย่อว่า UBC
 
จากนั้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2549]] กลุ่ม[[เอ็มไอเอช]] ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้ถือ[[หุ้นรายใหญ่]] ขายหุ้นทั้งหมดให้กับกลุ่มทรู คอร์ปอเรชัน รวมเป็นหุ้นร้อยละ 98 ทำให้กลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ [[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] จึงยุติการซื้อขายหลักทรัพย์ของ[[ยูบีซี]] โดยกลุ่มทรูฯ ประกาศซื้อหุ้น[[ยูบีซี]] จากผู้ถือหุ้นรายย่อย เมื่อวันที่ [[9 มกราคม]] แล้วจึงเปลี่ยนชื่อเป็น '''บริษัท ยูบีซี-ทรู จำกัด (มหาชน)''' รวมถึง[[เครื่องหมายการค้า]]ใหม่คือ '''[[ยูบีซี-ทรู]]''' ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 ต่อมาในวันที่ [[23 มกราคม]] [[พ.ศ. 2550]] ยูบีซีเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัทเป็น '''บริษัท ทรูวิชั่นส์-ยูบีซี จำกัด (มหาชน)''' รวมถึงเครื่องหมายการค้าใหม่คือ '''[[ทรูวิชั่นส์-ยูบีซี]]''' ต่อมาลดลงเหลือเพียง '''บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)''' ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2552]] จนถึงปัจจุบัน ตามยุทธศาสตร์หลอมรวม (Convergence) ธุรกิจในกลุ่มทรูฯ ต่อมาได้เพิ่ม '''บริษัท ทรูวิชั่นส์ กรุ๊ป จำกัด''' ตั้งแต่เดือน [[กันยายน]] [[พ.ศ. 2556]] ซึ่งเข้ารับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน์บอกรับสมาชิก ประเภทไม่ใช้คลื่นความถี่ จากสำนักงาน[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]] (กสทช.)
 
=== ผู้นำด้านโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิกในประเทศไทย ===
บรรทัด 37:
 
=== การให้มีโฆษณา ===
เมื่อวันที่ [[9 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2552]] [[สุรพล นิติไกรพจน์]] ประธานคณะกรรมการ[[บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)]] ในขณะนั้น ร่วมลงนามในสัญญา อนุญาตให้ทรูวิชันส์ สามารถมี[[โฆษณา]]ได้ ชั่วโมงละ 6 นาที<ref>[http://www.youtube.com/watch?v=yQd8TaUqsE0 ประกาศจากทรูวิชันส์เรื่องการอนุญาตให้มีการโฆษณา], ยูทูบ</ref> เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ที่อนุญาตให้กิจการโทรทัศน์ระบบบอกรับสมาชิก สามารถทำการโฆษณาได้ โดยตกลงจ่ายเงินชดเชยค่าเสียหาย กรณีที่กลุ่มทรูวิชันส์ ออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน ใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] และค่าปรับอื่น ๆ รวมเป็นเงินกว่า 110 ล้านบาท และตกลงที่จะแบ่งรายได้ค่าโฆษณาให้ บมจ.อสมท ร้อยละ 6.5 จากรายได้ค่าโฆษณาทั้งหมด
 
=== ระบบภาพ HD ===
ทรูวิชันส์ได้ทำการทดสอบการออกอากาศ[[HDTV|โทรทัศน์ความละเอียดสูง]] (ระบบเอชดี, HD]]) ที่ภาพมีความคมชัดมากกว่าปกติถึง 5 เท่า ระบบเสียงจะเป็น[[ระบบ Dolby Digital Surround เสียงดิจิทัลรอบทิศทาง โดยช่องที่จะเริ่มทำการออกอากาศได้แก่ช่อง [[ทรูสปอร์ต]], [[Discovery Channel]], [[National Geographic Channel]] , [[ฮิสทรี (ช่องโทรทัศน์)ของดอลบี|History Channelระบบเสียงดิจิทัลรอบทิศทาง]] และรายการซีรีส์และภาพยนตร์ที่ใช้ของ[[HDTV|ระบบ HDดอลบี]] ในการโดยออกอากาศซึ่งการออกอากาศนั้นเกิดขึ้นเมื่อครั้งแรกในงาน '''Bangkok ICT Expo 2007''' ที่[[เมืองทองธานี]]<ref>[http://www.blognone.com/node/6334 ทรูวิชันส์พร้อมออกอากาศ HD ในไทย]</ref>
 
ปัจจุบัน ได้แพร่ภาพระบบ HD แล้ว 64 ช่องในระบบเคเบิลใยแก้ว โดยสามารถรับชมได้ทุกแพ็กเกจที่มีช่อง HDระบบเอชดี แต่ต้องเปลี่ยน[[กล่องรับสัญญาณเดิมเป็นกล่องรับสัญญาณใหม่]] เนื่องจากกล่องรับสัญญาณเดิม ไม่สามารถรับรองรับระบบเอชดีได้ ซึ่งองค์ประกอบในการและเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ทรูวิชั่นส์ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อแพ็คเกจแพลตตินั่ม มาเป็น '''แพลตตินั่ม เอชดี''' โดยสามารถรับชมระบบช่องเอชดีที่ดีที่สุดได้ฟรี 17 ช่อง โดยไม่มีดังนี้ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม เพียงแต่สมาชิกในปัจจุบันต้องแจ้งขอเปลี่ยนกล่องมาเป็นกล่องรับสัญญาณแบบใหม่เท่านั้น
 
* ต้องมีกล่องรับสัญญาณรุ่นใหม่ที่รองรับระบบเอชดีได้
* ต้องมีบริการ '''TrueVisions HD Package'''
* ต้องมีเครื่องรับโทรทัศน์แบบแอลซีดี แอลอีดี หรือพลาสมา ในแบบ [[1080p|Full HD 1080p]]
 
และเมื่อคืนวันที่ 15 กรกฎาคม 2555 ทรูวิชั่นส์ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อแพ็คเกจแพลตตินั่ม มาเป็น '''แพลตตินั่ม เอชดี''' โดยสามารถรับชมช่องเอชดีได้ฟรี 17 ช่อง โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม เพียงแต่สมาชิกในปัจจุบันต้องแจ้งขอเปลี่ยนกล่องมาเป็นกล่องรับสัญญาณแบบใหม่เท่านั้น
 
=== ระบบภาพ 4K ===
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ทรูวิชั่นส์ได้เพิ่มระบบการส่งสัญญาณภาพแบบใหม่ ในคือระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่ง]] (4K หรือ Ultra HD) ที่มีความคมชัดสูงกว่า HD ถึง 4 เท่า และคมชัดกว่าระบบปกติถึง 20 เท่า ให้ภาพและรายละเอียดที่สมจริงทุกอณู โดยเริ่มต้นส่งสัญญาณช่องรายการ[[ฟุตบอลโลก 2018]] เป็นช่องแรกที่ช่องหมายเลข 400 สำหรับองค์ประกอบในการรรับชมช่องรายการความคมชัดระดับ 4K หรือ Ultra HD ที่ดีที่สุดมีดังนี้
* ต้องมีกล่องรับสัญญาณรุ่นใหม่ที่รองรับระบบ 4K
* ต้องมีเครื่องรับโทรทัศน์รุ่นใหม่ชนิด Ultra HD TV ที่มีขนาดขั้นต่ำ 55 นิ้ว
เส้น 372 ⟶ 366:
| <center>จานดาวเทียม HD และ SD || style="background:#00FF00;" | <center>ฟรีทีวีและทีวีดิจิทัล || style="background:#FF0000;" | <center>ช่องรายการต่างๆ
|}
*
 
=== เรตติง ===
{| class="wikitable"
|-
! อันดับหมายเลข !! ช่องรายการ !! เรตติงเฉลี่ย!! อันดับหมายเลข !! ช่องรายการ !! เรตติงเฉลี่ย
|-
| 1 || [[ช่อง 7 เอชดี]] || 1,725 || 14 || [[จีเอ็มเอ็ม 25]] || 0,107
|-
| 2 || [[ช่อง 3 เอชดี]] || 1,309 || 15 || [[ทรูโฟร์ยู]] || 0,098
|-
| 3 || [[โมโน 29]] || 0,778 || 16 || [[วอยซ์ทีวี]] || 0,086
|-
| 4 || [[ช่องเวิร์คพอยท์]] || 0,627 || 17 ||[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส|ไทยพีบีเอส]] || 0,062
|-
| 5 || [[ช่องวัน]] || 0,613 || 18 || [[นิวทีวี]] || 0,041
|-
| 6 || [[ไทยรัฐทีวี]] || 0,372 || 19 || [[ช่อง 3 แฟมิลี่]] || 0,038
|-
| 7 || [[ช่อง 3 เอสดี]] || 0,294 || 20 || [[ทีเอ็นเอ็น 16]] || 0,026
|-
| 8 || [[อมรินทร์ทีวี]] || 0,288 || 20 || [[ไบรต์ทีวี]] || 0,026
|-
| 9 || [[ช่อง 8]] || 0,257 || 22 || [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|ช่อง 5]] || 0,024
|-
| 10 || [[พีพีทีวี]] || 0,189 || 23 || [[เอ็มคอตแฟมิลี]] || 0,018
|-
| 11 || [[เนชั่นทีวี]] || 0,186 || 24|| [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย|NBT]] || 0,014
|-
| 12 || [[สปริง 26]] || 0,173 || 25 || [[สปริงนิวส์]] || 0,012
|-
| 13 || [[ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี|อสมท.]] || 0,134 || colspan="3" |
|-
|}
* เรตติ้ง ทีวีดิจิตอล มากที่สุด
 
== สรุปช่องรายการประเภท HD และ 4K ==