ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าวสุจริตธำรง (นาค)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MLBD Thai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 24:
}}
 
'''ท้าวสุจริตธำรง (นาค)''' ([[10 กันยายน]] [[พ.ศ. 2355]] - [[26 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2434]]) ต้นสกุล[[สุจริตกุล]] ท่านผู้เป็นพระมารดาของ[[สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา]] (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยมในรัชกาลที่ 4) และเป็นขรัวยายของพระมเหสีในรัชกาลที่ 5 ทั้งสามพระองค์คือ [[สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี]], [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] และ[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
 
==ประวัติตอนต้น==
ท้าวสุจริตธำรง มีนามเดิมว่า นาค เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2355 มีนามเดิมว่า ''นาค'' ซึ่งมีบรรพบุรุษฝ่ายท่านบิดาเป็นคหบดีเชื้อสายจีน<ref>ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ''ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ฉบับสมบูรณ์ (ภาคจบ)''. พิมพ์ครั้งที่ 2. [[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี|นครหลวงฯ]]:รุ่งวัฒนา. 2515, หน้า 305</ref> ภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่ปากน้ำโพ นครสวรรค์ ต่อและรับราชการฝ่ายในมาท่านได้สมรสกับ[[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]] ข้าหลวงเดิมในตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตั้งแต่ครั้งยังทรงผนวชและได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นนายวิเสทกลางสำรับหวานที่ โดยมีนิวาสสถานบนถนนตี'''ท้าวทองพยศ''' ข้างวัดสุทัศน์เทพวรารามรับพระราชทานเบี้ยหวัด 2 ชั่ง
 
ท่านได้แต่งงานกับ[[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]] มีบุตรธิดารวม 9 คน (ธิดาคนที่ 1 และ 2 ถึงแก่กรรมตั้งแต่วัยเยาว์) ได้แก่
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จขึ้นครองราชสมบัติต่อจากพระบรมเชษฐาธิราช [[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]] จึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการเป็นเจ้ากรมเรือต้นซ้าย แต่คุณหลวงถึงแก่อนิจกรรมในปีแรกของรัชกาล คุณนาคทำกิจการการค้าเพื่อเลี้ยงชีพและเลี้ยงดูบุตรธิดาหลายคนที่ยังเยาว์วัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระเมตตา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คุณนาคเข้ารับราชการโดยรับพระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ '''ท้าวทองพยศ''' นายวิเสทกลางสำรับหวาน พร้อมรับพระราชทานเบี้ยหวัด 2 ชั่ง และโปรดเกล้าฯ ให้ควบคุมเลกวัดสุทัศน์เทพวรารามอีกด้วย
 
นอกจากงานราชการข้างต้นแล้ว ท้าวทองพยศยังช่วย[[สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา]] ซึ่งขณะนั้นเป็นเจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 4 เลี่้ยงดูอภิบาลพระราชโอรส-พระราชธิดาซึ่งประสูติแต่ธิดาของท่าน
 
==บุตร-ธิดา==
ท้าวสุจิรตธำรง (นาค) และ[[หลวงอาสาสำแดง (แตง)]] มีบุตรธิดาร่วมกันรวม 9 คนได้แก่
# ไม่ปรากฏนาม (ถึงแก่กรรมแต่ยังเยาว์)
# ไม่ปรากฏนาม (ถึงแก่กรรมแต่ยังเยาว์)
# [[เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)]] สมรสกับคุณหญิงตาด ศิริรัตนมนตรี มีบุตรธิดา 16 คน มีธิดาคือ[[หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา|หม่อมใหญ่]]ใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ|สมเด็จ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]]
# [[ท้าววนิดาพิจาริณี (เหม สุจริตกุล)]]
# [[สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา]] เจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 4 มีพระโอรส-ธิดา 6 พระองค์คือ
#* [[เจ้าพระยาสุธรรมมนตรีพระยาราชภักดี (ปลื้มโค สุจริตกุล)]] ซึ่งสมรสกับคุณหญิงทองศุข ราชภักดี มีบุตรธิดา 2 คน เป็นพระบิดาของ[[ท้าววนิดาพิจาริณี (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5)]] และเป็นพระอัยกา (ปู่) ของ[[สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา]]ในรัชกาลที่ 6<ref name="ancestry">ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ''ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ฉบับสมบูรณ์ (ภาคจบ)''. พิมพ์ครั้งที่ 2. [[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี|นครหลวงฯ]]:รุ่งวัฒนา. 2515, หน้า 306</ref> และ[[พระสุจริตสุดา]] พระสนมในรัชกาลที่ 6<ref name= "ancestry"/><ref>[[ส.พลายน้อย]]. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม''. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, 2554. หน้า 211</ref>
#* '''[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย|พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย]]''' (22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2399 – 29 มีนาคม พ.ศ. 2416) ทรงมีพระอิสริยยศสูงสุดที่ '''''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย''''' มีพระโอรส 1 พระองค์
#* '''[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ|พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์]]''' (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2466) ต่อมาทรงมีพระอิสริยยศสูงสุดที่ '''''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ''''' มีพระโอรส-ธิดา 40 พระองค์ เป็นพระปัยกาของ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]
#* '''[[สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์]]''' (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 – 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423) ทรงมีพระอิสริยยศสูงสุดที่ '''''สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี''''' อภิเษกสมรสกับ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระราชธิดาหนึ่งพระองค์
#* '''[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา]]''' (10 กันยายน พ.ศ. 2405 – 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) ทรงมีพระอิสริยยศสูงสุดที่ '''''สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า''''' อภิเษกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชโอรส-ธิดา 8 พระองค์ และเป็นพระอัยยิกาใน[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
#* '''[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง|พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี]]''' (1 มกราคม พ.ศ. 2407 – 20 ตุลาคม พ.ศ. 2462) ทรงมีพระอิสริยยศสูงสุดที่ '''''สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง''''' อภิเษกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชโอรส-ธิดา 14 พระองค์ เป็นพระบรมราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
#* '''[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์|พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ]]''' (22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 – 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) ต่อมาทรงมีพระอิสริยยศสูงสุดที่ '''''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์''''' มีพระโอรส-ธิดา 36 พระองค์ หนึ่งในนั้นคือ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]]
# [[พระยาราชภักดี (โค สุจริตกุล)]] สมรสกับคุณหญิงทองศุข ราชภักดี มีบุตรธิดา 2 คนคือ
#* [[เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)]] ซึ่งเป็นพระบิดาของ[[สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา]]ในรัชกาลที่ 6<ref name="ancestry">ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ''ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ฉบับสมบูรณ์ (ภาคจบ)''. พิมพ์ครั้งที่ 2. [[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี|นครหลวงฯ]]:รุ่งวัฒนา. 2515, หน้า 306</ref> และ[[พระสุจริตสุดา]] พระสนมในรัชกาลที่ 6<ref name="ancestry" />
#* [[ท้าววนิดาพิจาริณี (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5)]]
# [[นายรองพันธ์ (หล่อ สุจริตกุล)]]
# ปุก สุจริตกุล (ถึงแก่กรรมแต่ยังเยาว์)
# เหมือน สุจริตกุล (ถึงแก่กรรมแต่ยังเยาว์)
 
นอกจากนี้ คุณท้าวสุจริตธำรงยังได้อุปการะธิดาของสามีที่มิได้เกิดด้วยกัน ชื่อ ''สุด'' เปรียบประดุจบุตรแท้ ๆ ของตน และต่อมา คุณสุดได้ติดตาม[[สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา]] ซึ่งมีศักดิ์เป็นน้องสาวเข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อช่วยอภิบาลพระราชโอรส-พระราชธิดาที่ยังทรงพระเยาว์อีกด้วย<ref>[http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stauthorid=13&stcolcatid=2&stcolumnid=632&stissueid=2430 สกุลไทย - 'ชื่อสกุล ที่มาจากบรรพบุรุษเดียวกัน']</ref>
 
==ถึงแก่อนิจกรรม==
ท้าวทองพยศ (นาค) ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2434 อายุ 79 ปี ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็น '''ท้าวสุจริตธำรง''' มีบรรดาศักดิ์เสมอด้วยท้าวสนองพระโอษฐ์ ถือศักดินา 1000<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/047/428.PDF หมายตั้งท้าวสุจริตธำรง], เล่ม ๘, ตอน ๔๗, ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๓๔, หน้า ๔๒๘ </ref> โดยทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยว่า
 
"ท้าวทองพยศก็นับว่าเปนพระประยูรญาติชั้นผู้ใหญ่ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชเทวี แลพระนางเจ้าพระวรราชเทวี แลสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ที่ได้รับพระราชทานเกียรติยศอย่างเจ้าขรัวยายในพระเจ้าลูกเธอสามัญนั้นหาควรไม่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนตำแหน่งท้าวทองพยศขึ้นเปน'''ท้าวสุจริตธำรง''' มีบรรดาศักดิ์เสมอด้วยท้าวสนองพระโอษฐ์ ในตำแหน่งถือศักดินา 1,000 พระราชทานหีบหมากทองคำใหญ่ จำหลักเชิงชายเครื่องในพร้อมสำรับ 1, กาทองคำจำหลักเชิงชาย 1,หีบหมากทองคำเล็กจำหลักสรรพางค์ 1, โต๊ะเงินคู่ 1 แลพระราชทานโกศรองศพเพิ่มขึ้นเปนเกียรติยศ"
 
งานพระราชทานเพลิงศพท้าวสุจริตธำรง (นาค) จัดขึ้นที่เมรุ วัดเทพศิรินทราวาส จัดเป็นงานใหญ่หลายวัน โดย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จพระราชดำเนินขึ้นพระราชทานเพลิงศพด้วยพระองค์เองด้วย
==ต้นราชินีกุล==
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชหัตถเลขาพระราชทานนามสกุลสุจริตกุล แก่สกุลของบุตรชายทั้งสองของท้าวสุจริตธำรง (นาค) ไว้ว่า
 
"ฉันได้มานึกไตร่ตรองดูถึงนามสกุลของเจ้าพระยาศิริรัตนกับพระยาราชภักดี (โค) ได้รู้สึกว่าควรจะใช้ร่วมกัน เปนอย่างเดียวกัน จึ่งมานึกดูว่าจะควรเอานามบรรพบุรุษใดใช้ ก็มาคิดเห็นว่า ผู้ที่ทูลกระหม่อมของฉันทรงพระเมตตามาก และซึ่งตัวฉันเองก็รักและนับถือมาก คือคุณยายทวด ผู้เปนมารดาแห่งเจ้าพระยาศิริรัตน จริงอยู่นามสกุลมักใช้นามผู้ชาย แต่ทางฝ่ายท่านบิดาของเจ้าพระยาศิริรัตนเข้าใจว่าจะมีผู้ที่รู้จักน้อยกว่าทางมารดา ทั้งทูลกระหม่อมก็ได้ทรงพระเมตตาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งคุณยายทวดเปนท้าวสุจริตธำรง เพื่อเปนเกียรติยศแห่งญาติวงษ์ ฉันถือว่าเหมือนได้พระราชทานนามนั้นสำหรับสกุล เปนสิ่งที่เชิดชูสกุลเปนอันมาก
 
เพราะฉนั้นฉันขอให้นามสกุลแห่งเจ้าพระยาศิริรัตนและสกุลพระยาราชภักดี (โค) ว่า "'''สุจริตกุล'''" (เขียนเปนภาษาโรมันว่า Sucharitakul)"
 
ท้าวทองพยศ (นาค) ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2434 อายุ 79 ปี ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็น '''ท้าวสุจริตธำรง''' มีบรรดาศักดิ์เสมอด้วยท้าวสนองพระโอษฐ์ ถือศักดินา 1000<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/047/428.PDF หมายตั้งท้าวสุจริตธำรง], เล่ม ๘, ตอน ๔๗, ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๓๔, หน้า ๔๒๘ </ref> โดยทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยว่า
และเนื่องด้วย[[พระยาราชภักดี (โค สุจริตกุล)]] เป็นพระอัยกา ใน[[สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา]]ในรัชกาลที่ 6 และ[[พระสุจริตสุดา]] พระสนมในรัชกาลที่ 6 จึงถือว่า สกุลสุจริตกุล เป็นราชินีกุล และใช้สัญลักษณ์เป็นภาพนาคพันแตง
 
== อ้างอิง ==