ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุการณ์ 6 ตุลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 350:
 
=== การรำลึก ===
การจัดงานรำลึกประจำปีปกติเน้นเพื่อกระตุ้นเตือนสังคมถึงการไม่ต้องรับผิด จิตวิญญาณประชาธิปไตยและการเคลื่อนไหวทางการเมือง แต่ไม่ค่อยเกิดผลเท่าใดนัก<ref name="pct_digest">[https://prachatai.com/english/node/6633 ‘Digestible’ methods commemorate 6 October Massacre]</ref> วิภา ดาวมณี อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบุว่า หลัง[[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553]] ทำให้ญาติผู้เสียชีวิตแตกออกเป็น[[เสื้อเหลือง]]และ[[เสื้อแดง]] ทำให้ขาดความร่วามมือร่วมมือในการจัดงานรำลึก<ref name="newphotos"/>
 
ในปี 2539 มีการจัดงานรำลึกครบรอบ 20 ปี เป็นครั้งแรกที่ผู้อยู่ในเหตุการณ์รวมกันบอกเล่าเรื่องในแบบผู้ถูกกระทำ<ref name="ฝ่ายขวา"/>{{rp|444}} มีการตีพิมพ์หนังสือหลายเรื่องซึ่งเป็นการเปิดมุมมองใหม่ ๆ ตัวอย่างหนังสือสำคัญ เช่น ''เราไม่ลืม 6 ตุลา'', ''มหาวิทยาลัยของฉัน'', ''ตุลากาล'', ''6 ตุลาจารึก ความทรงจำ ความหวัง บทเรียน'' ฯลฯ