ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32:
 
== การสถาปนาพระราชอำนาจนำ ==
ชนิดา (2550) เขียนว่าการดำเนินงานของโครงการฯ แบ่งได้เป็น 4 ช่วง ได้แก่ ยุคก่อกำเนิด (พ.ศ. 2494–2500), ยุคการพัฒนาเพื่อความมั่นคง (พ.ศ. 2501–23), ยุคกำเนิดองค์กรประสานงาน (พ.ศ. 2524–30), และยุคกำเนิดองค์กรเอกชน (หลัง พ.ศ. 2530)<ref name="ชนิดา">{{cite book |last1=ชิตบัณฑิตย์ |first1=ชนิดา |title=โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว |publisher=มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ |location=กรุงเทพฯ |isbn=9789748278575 |edition=1}}</ref>{{rp|455}} เป็นกิจกรรมที่ทำให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงสถาปนาพระราชอำนาจนำ หมายถึง การสร้างและรักษาสถานภาพนำเหนือรัฐและชาติเพราะธำรงพระองค์อยู่ในฐานะตอบสนองผลประโยชน์ของชนชั้นอื่น ผ่านการดำเนินงานแบบสร้างกลุ่มทางประวัติศาสตร์ ในด้านการพัฒนา การสถาปนาพระราชอำนาจนำเกิดขึ้นผ่านอุดมการณ์ "[[เศรษฐกิจพอเพียง]]" มีการสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชนและ[[องค์การนอกภาครัฐ]]<ref name="ชนิดา" />{{rp|456–8}} โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเกิดขึ้นภายใต้พระราชอำนาจที่จำกัดตามกฎหมาย ทำให้ในการนำไปปฏิบัติฝ่ายบริหารจะเป็นผู้ตัดสินใจสนองพระราชดำริ และเมื่อรัฐบาลตกลงสนองพระราชดำริแล้ว ก็เป็นภาระหน้าที่ของหน่วยงานนั้น ๆ ในการรับผิดชอบต่แโครงการต่อโครงการ<ref name="ชนิดา" />{{rp|459–61}}
 
การดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริมีองค์ประกอบของอุดมการณ์[[กษัตริย์นิยม]]และการพัฒนา เพื่อสร้างภาพลักษณ์ "กษัตริย์นักพัฒนา" และส่งเสริมอุดมการณ์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ วิพากษ์ระบบ[[ทุนนิยม]]และจุดอ่อนของระบบราชการที่ขาดการประสานงาน<ref name="ชนิดา" />{{rp|466}}
 
== อ้างอิง ==